ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระท้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MystBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fr:Sandoricum koetjape
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| color = lightgreen
| name = กระท้อน
| image = Santol3720Gratorn กระท้อน fruit, Santol.jpg
| image_width = 240px
| image_caption =
บรรทัด 17:
}}
 
'''กระท้อน''' (Santol) เป็นไม้ผลเขตร้อนที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในบริเวณ [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ผลกระท้อนมีสีสะดุดตา เป็นไม้ยืนต้น สูงประมาณ 15 - 30 เมตร เปลือกต้นสีเทามี
 
ใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ การเกาะติดของใบบนกิ่งแบบเรียงสลับ ใบย่อยรูปรีแกมไข่จนถึงขอบขนาน ขนาดประมาณ กว้าง 6 - 15 ซม. ยาว 8 - 20 ซม. เมื่อใบแก่จัดจะเปลี่ยนเป็นสีส้มแดงดอกออกเป็นช่อ ที่ซอกใบบริเวณปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีเหลืองนวล
 
ผล ผลอ่อนสีเขียวมีน้ำยางสีขาว เมื่อผลแก่เปลือกผลจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและมีน้ำยางลด น้อยลง รูปกลมแป้น ผิวมีขนแบบกำมะหยี่อ่อนนุ่ม ขนาดประมาณ 5.00 - 15.00 เชนติเมตร[[เซนติเมตร]] เมล็ดรูปรี มีปลอกเหนียวห่อหุ้ม มี 2 - 8 เมล็ด ภายในผลจะมีเมล็ด 3-5 เมล็ด และมีปุยสีขาวหุ้มอยู่ ซึ่งลักษณะ ของปุยและรสชาติจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละพันธุ์
 
==ถิ่นกำเนิดและการกระจายพันธุ์==
เชื่อกันว่ากระท้อนมีถิ่นกำเนิดใน[[อินโดจีน]]และ[[มาเลเซียตะวันตก]] ก่อนจะถูกนำไปปลูกที่[[ประเทศอินเดีย]], [[เกาะบอร์เนียว]], [[ประเทศอินโดนีเซีย]], [[หมู่เกาะโมลุกกะ]], [[ประเทศมอริเชียส]], และ[[ประเทศฟิลิปปินส์]]และกลายเป็นพืชท้องถิ่นไป กระท้อนถูกปลูกเป็นพืชเชิงพานิชย์ตลอดพื้นที่ในเขตนี้
 
== สายพันธุ์ ==
 
พันธุ์ที่ได้รับความนิยมสูงสูดเป็นพันธุ์กระท้อนห่อที่มีรสหวาน ได้แก่ พันธุ์อีล่า ปุยฝ้าย นิ่มนวล อินทรชิต ทับทิม ขันทอง เทพรส อีแดง ส่วนพันธุ์พื้นเมืองจะมีผลดก ผลมีขนาดเล็ก รสเปรี้ยว จึงนิยมนำมาทำเป็น กระท้อนดอง [[กระท้อนทรงเครื่อง]]<ref>http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=65&i2=16</ref>
เส้น 49 ⟶ 50:
 
== สรรพคุณ ==
*ใบสด ใช้ขับเหงื่อ ต้มอาบแก้ไข้
*เปลือกต้น เปลือกต้นต้มน้ำดื่มแก้[[ท้องเสีย]] รักษา[[โรคผิวหนัง]] [[กลากเกลื้อน]]
 
*ราก เป็นยาขับลม แก้ท้องเสีย [[บิด]] เป็นยาธาตุ<ref>http://www.chiangmainews.co.th/viewnews.php?id=19060&lyo=1</ref>
เปลือกต้น เปลือกต้นต้มน้ำดื่มแก้[[ท้องเสีย]] รักษา[[โรคผิวหนัง]] [[กลากเกลื้อน]]
 
ราก เป็นยาขับลม แก้ท้องเสีย [[บิด]] เป็นยาธาตุ<ref>http://www.chiangmainews.co.th/viewnews.php?id=19060&lyo=1</ref>
 
== อ้างอิง ==