ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วชิรพยาบาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
ลบภาพ "Vajira_Hospital_2011.jpg", ซึ่งถูกลบที่คอมมอนส์โดย Courcelles เพราะ In category [[commons::category:Media missing permission as of 2 November 2011|Media missing permissio...
Stealth015 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| จำนวนเตียง = 900 เตียง
| บุคลากร = 2,335 คน
| ที่ตั้ง = 681 [[ถ.สามเสน]] แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10300 <br> {{coord|13|46|50|N|100|30|33|E|type:landmark_region:TH|display=inline,title}}
| เว็บไซต์ = [http://www.vajira.ac.th/ www.vajira.ac.th]
}}
'''โรงพยาบาลวชิระ''' หรือ '''วชิรพยาบาล''' เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของ [[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]] [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร]] สังกัด สำนักการแพทย์ [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]] วชิรพยาบาลเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกๆที่เกิดขึ้นในประเทศไทย สถาปนาขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ในปี พ.ศ.2455 วชิรพยาบาลเป็นโรงพยาบาลในสังกัด สำนักการแพทย์ [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]] วชิรพยาบาลเป็นที่ทำการเรียนการสอนของ [[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]] และ [[คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์]] ตั้งอยู่บน ถ.สามเสน แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 21:
{{คำพูด|''การที่เราได้จำหน่ายทุนทรัพย์ส่วนตัวออกทำโรงพยาบาลขึ้นครั้งนี้ เพราะมารำพึงถึงบุพเพกปุญญตาและกุศลที่เราได้สั่งสมมาจึงได้มาตั้งอยู่ในฐานะแห่งผู้มีทรัพย์เพียงพอ และทรัพย์ที่เรามีอยู่นี้เห็นว่าจะจับจ่ายใช้สรอยในทางใดก็จะไม่ได้รับผลความพอใจเท่าทางที่จะทำให้เพื่อนมนุษย์ผู้มีโรคภัยเบียดเบียนได้รับความบำรุงรักษาพยาบาลเพื่อทุเลาทุกขเวทนา ถ้าได้กลับเป็นผู้มีกำลังมีร่างกายบริบูรณ์ขึ้นอีก เราเห็นว่าจะเป็นทางทานอันจะได้รับผลดี ให้เราได้มีความสุขใจยิ่งกว่าที่จะแจกจ่ายทรัพย์ไปให้แก่คนขอทานโดยไม่เลือกหน้าบัดนี้โรงพยาบาลอันนี้ ก็ได้ตกแต่งขึ้นพร้อมแล้ว เราขอให้นามว่า วชิรพยาบาล...''}}
 
พระองค์ทรงสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดซื้อที่ดินพร้อมด้วยตึกและสิ่งปลูกสร้าง มอบไว้เป็นสาธารณสถานเป็นสมบัติสิทธิ์เด็ดขาดแก่ประชาชนให้ได้ใช้เพื่อเป็นที่พยาบาลผู้มีอาการป่วยผู้ป่วยไข้ต่อไป พระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาเปิดโรงพยาบาลเมื่อวันที่ [[2 มกราคม]] [[พ.ศ. 2455]] โดยให้กรมสุขาภิบาล [[กระทรวงนครบาล]] (พัฒนาเป็น[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]ในเวลาต่อมา) เป็นผู้ปกปักรักษาในนามประชาชน พร้อมทั้งพระราชทานนามโรงพยาบาลว่า "วชิรพยาบาล" โดยพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาเปิดโรงพยาบาลเมื่อวันที่ [[2 มกราคม]] [[พ.ศ. 2455]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2541]]ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่ โดยได้รวม "วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร" และ "วชิรพยาบาล" เข้าเป็นหน่วยราชการเดียวกันโดยใช้ในชื่อว่า "[[วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล]]" ซึ้งได้รับการพัฒนาเป็น "คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล" ในเวลาต่อมา
 
== มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร ==
บรรทัด 39:
* [[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]]
* [[มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร]]
* [http[://en.wikipedia.org/wiki/Faculty_of_Medicine_Vajira_Hospital,_University_of_Bangkok_Metropolis:Faculty of Medicine Vajira Hospital|Faculty of Medicine Vajira Hospital (English Wikipedia)]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น==