ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fa:احیای قلبی ریوی
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
หลักการของการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพไม่ใช่การทำให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่ แต่เป็นเพื่อรักษาให้มีการไหลเวียนของเลือดนำ[[ออกซิเจน]]ไปเลี้ยง[[สมอง]]และ[[หัวใจ]] เป็นการชะลอการตายของเนื้อเยื่อและเพิ่มโอกาสที่ผู้ป่วยจะฟื้นกลับขึ้นมาโดยไม่มีความเสียหายถาวรเกิดขึ้นกับสมอง ปกติแล้วการกระตุ้นให้หัวใจเต้นขึ้นใหม่จะต้องใช้การกู้ชีพขั้นสูง เช่น การช็อตไฟฟ้าหัวใจ
==ข้อบ่งชี้==
ข้อบ่งชี้ของการเริ่มการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพนั้นใช้สำหรับบุคคลที่ไม่ตอบสนอง (unresponsive) และไม่หายใจหรือหายใจเฮือก มีโอกาสมากที่จะอยู่ในภาวะ[[หัวใจหยุด]]<ref name=CircEx10/>{{rp|S643}} ถ้ายังมีชีพจรอยู่แต่ไม่หายใจ (ภาวะหายใจหยุด) ควรเริ่มการช่วยหายใจมากกว่า อย่างไรก็ดีผู้ช่วยชีวิตหลายคนอาจไม่มีความเชี่ยวชาญในการจับชีพจร ดังนั้นอาจอนุโลมคำแนะนำใหม่จึงกำหนดให้ผู้ช่วยชีวิตที่เป็นคนทั่วไปไม่ต้องพยายามจับชีพจร และให้เริ่มการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพช่วยชีวิตไปเลย ส่วนผู้ช่วยชีวิตที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์สามารถพิจารณาจับชีพจรก่อนเริ่มการช่วยชีวิตได้ตามเห็นสมควร<ref>European Resuscitation Council (2005), "Guidelines for resuscitation", Part 2, "Adult basic life support": "The following is a summary of the evidence-based recommendations for the performance of basic life support: Rescuers begin CPR if the victim is unconscious, not moving, and not breathing (ignoring occasional gasps).[...]"", available at https://www.erc.edu/index.php/guidelines_download_2005/en/</ref>
 
==วิธีการ==
พ.ศ. 2553 [[American Heart Association|สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา]]และ[[International Liaison Committee on Resuscitation|คณะกรรมการประสานงานนานาชาติว่าด้วยการกู้ชีพ]]ได้ปรับปรุงแนงทางปฏิบัติการกู้ชีพขึ้นใหม่<ref name=CircEx10>{{cite journal |author=Field JM, Hazinski MF, Sayre MR, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care |journal=Circulation |volume=122 |issue=18 Suppl 3 |pages=S640–56 |year=2010 |month=November |pmid=20956217 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970889 |url=}}</ref>{{rp|S640}}<ref>{{cite journal |author=Hazinski MF, Nolan JP, Billi JE, ''et al.'' |title=Part 1: executive summary: 2010 International Consensus on Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Science With Treatment Recommendations |journal=Circulation |volume=122 |issue=16 Suppl 2 |pages=S250–75 |year=2010 |month=October |pmid=20956249 |doi=10.1161/CIRCULATIONAHA.110.970897 |url=}}</ref> มีการให้ความสัมพันธ์กับคุณภาพของการกู้ชีพ โดยเฉพาะอัตราเร็วและความลึกของการกดหน้าอกร่วมกับการไม่ทำให้เกิดภาวะหายใจเกิน<ref name=CircEx10/>{{rp|S640}} มีการเปลี่ยนแปลงลำดับขั้นตอนการช่วยชีวิตสำหรับทุกช่วงอายุยกเว้นทารก โดยเปลี่ยนจาก ABC (ทางเดินหายใจ การหายใจ การไหลเวียน) เป็น CAB (การกดหน้าอก ทางเดินหายใจ การหายใจ)<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}} โดยมีข้อยกเว้นเฉพาะผู้ป่วยที่ชัดเจนว่ามีภาวะหายใจหยุด เช่น จมน้ำ เป็นต้น<ref name=CircEx10/>{{rp|S642}}