ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับกิ้งก่าและงู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Taxobox | name = | image = JaszczurkaZOO.082004.ws.JPG | image_caption = ตะกอง หรือ กิ้งก่ายักษ์ (''Physignathus cocinci...
 
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
*[[Serpentes]]
}}
'''อันดับกิ้งก่าและงู''' ([[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: Squamata, /สะ-ควอ-มา-ตา/, {{lang-en|Lizard and Snake) เป็น[[อันดับ (ชีววิทยา)|อันดับ]]ของ[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบันนี้ นับเป็นอันดับที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุดและพบได้หลากหลายกว้างขวางมากที่สุด
 
โดยอันดับนี้แบ่งได้เป็น 2 อันดับย่อย คือ [[กิ้งก่า|Lacertilia]] หรือ อันดับย่อยกิ้งก่า กับ [[Serpentes]] หรือ อันดับย่อยงู
บรรทัด 25:
ทั้งกิ้งก่าและงูมีเกล็ดปกคลุมลำตัว โดยมีปริมาณ ลักษณะ และจำนวนที่ปกคลุมอวัยวะแต่ละส่วนแตกต่างกันตามลักษณะทาง[[อนุกรมวิธาน]] กิ้งก่าบาง[[สปีชีส์|ชนิด]]มีกระดูกในชั้นหนังซ้อนอยู่ใต้เกล็ดซึ่งไม่มีในงู พื้นผิวลำตัวของกิ้งก่ามีต่อมผิวหนังไม่มากแต่บริเวณด้านหน้าช่องเปิดทวารร่วมและทางด้านในของต้นขาหลังของกิ้งก่าหลายชนิดมีต่อมผิวหนังค่อนข้างมาก ซึ่งสังเคราะห์สารเคมีเพื่อใช้ในการกำหนดอาณาเขตและหน้าที่ประการต่าง ๆ ซึ่งจำนวนต่อมดังกล่าวนี้อีกทั้งตำแหน่งที่ตั้งแตกต่างกันระหว่าง[[เพศ]] โดย[[เพศผู้|ตัวผู้]]จะมีมากกว่าและใหญ่กว่า ซึ่งต่อมดังกล่าวนี้ยังใช้เป็นลักษณะในการจำแนกประเภทอีกด้วย
 
กิ้งก่าและงูหลายชนิดสามารถปล่อยท่อนหางให้หลุดจากลำตัวเพื่อหนีเอาตัวรอดจากศัตรูได้ เช่น ใน[[จิ้งเหลน|วงศ์จิ้งเหลน]] (Scincidae) บางตัวอาจหลุดได้หลายครั้งในช่วงชีวิต เหตุที่หลุดและงอกใหม่ได้เนื่องจากลักษณะการเรียงตัวของกล้ามเนื้อกับ[[เนื้อเยื่อ]]ที่เกี่ยวพันซึ่งอาจมีตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เมื่อหางหลุดไปแล้วอาจงอกขึ้นมาใหม่สั้นกว่าเดิมหรือใช้เวลานานกว่าจะเท่าเดิม เพราะมีแกนเป็นแท่ง[[กระดูกอ่อน]]ทดแทนปล้องของ[[กระดูกสันหลัง]]แทน แต่ส่วนของงูแล้วเมื่อหลุดไปแล้วไม่อาจงอกใหม่ได้
) บางตัวอาจหลุดได้หลายครั้งในช่วงชีวิต เหตุที่หลุดและงอกใหม่ได้เนื่องจากลักษณะการเรียงตัวของกล้ามเนื้อกับ[[เนื้อเยื่อ]]ที่เกี่ยวพันซึ่งอาจมีตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง เมื่อหางหลุดไปแล้วอาจงอกขึ้นมาใหม่สั้นกว่าเดิมหรือใช้เวลานานกว่าจะเท่าเดิม เพราะมีแกนเป็นแท่ง[[กระดูกอ่อน]]ทดแทนปล้องของ[[กระดูกสันหลัง]]แทน แต่ส่วนของงูแล้วเมื่อหลุดไปแล้วไม่อาจงอกใหม่ได้
 
กิ้งก่าในหลาย[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] ได้ลดรูปของขาลงจนหดเล็กสั้นจนดูเหมือนไม่มีขา รวมทั้งนิ้วด้วย เพื่อเป็นประโยชน์ในการอาศัยอยู่ในโพรงดิน เช่น [[จิ้งเหลนด้วง]] เป็นต้น