ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาตะลุมพุก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
มีรูปร่างคล้าย[[วงศ์ปลาตะเพียน|ปลาในวงศ์ปลาตะเพียน]] แต่ลำตัวเพรียวกว่า และส่วนครีบหลังหางยาวเว้าลึกกว่ามาก ปากกว้าง ลูกตามีเยื่อไขมันคลุม ครีบอก ครีบท้อง และครีบก้นเล็ก เกล็ดใหญ่แต่บางคลุมทั้งลำตัว เกล็ดท้องเป็นสันคม ลำตัวด้านหลังมีสีคล้ำอมฟ้าอ่อนหรือเขียวอ่อน เช่นเดียวกับหัว ด้านข้างเป็นสีเงินอมฟ้าหรือเหลืองอ่อนไปจนถึงท้อง ในปลาที่ไม่สดนักมักมีสีแดงเรื่อ ๆ ที่ข้างลำตัว ครีบมีสีเหลืองอ่อน ครีบหางสีเหลืองอ่อนเหลือบฟ้า ขอบสีคล้ำ มีขนาดโตเต็มที่ได้ราว 35-45 [[เซนติเมตร]] พบกระจายพันธุ์ใน[[ชายฝั่ง]][[ทะเล]]ตั้งแต่[[อ่าวเบงกอล]]จนถึง[[ทะเลจีนใต้]]และ[[อินโด-แปซิฟิก]]
 
สำหรับใน[[ประเทศไทย]] ในอดีตราว 5060 ปีก่อน เคยพบชุกชุมใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] โดยจะว่ายเข้ามาวางไข่ถึง ตำบลบางยี่ขัน [[อำเภอบางพลัด]] เชื่อกันว่าปลาชนิดนี้ชอบมากินกาก[[ส่าเหล้า]]ที่[[โรงสุราบางยี่ขัน]]กลั่นทิ้ง
 
ในปี [[ค.ศ. 1935]] [[ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ]] อธิบดี[[กรมประมง]]คนแรกรายงานว่า
ปัจจุบัน สูญพันธุ์ไปแล้วจาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และหายากมากที่[[ทะเลสาบสงขลา]] และ[[ระนอง]] ปลาที่พบวางขายใน[[ตลาดสด]]ใน[[กรุงเทพ]] หรือ[[ภาคใต้]] นั้นนำเข้ามาจากประเทศอื่นในภูมิภาค[[เอเชียอาคเนย์]] ได้แก่ [[พม่า]], [[อินโดนีเซีย]], [[มาเลเซีย]] เป็นต้น เป็นปลาที่[[ชาวจีน]]นิยม[[กิน|บริโภค]]มาก แม้ว่าเนื้อจะมีก้างเยอะ แต่ต้องรู้วิธี[[การทำอาหาร|การปรุง]]และบริโภคจึงไม่ถูกก้างตำ เนื้อมีรสชาติดี มีราคาขายที่แพงมาก<ref>หนังสือปลาน้ำจืดไทย โดย ดร.ชวลิต วิทยานนท์ (กรุงเทพ, พ.ศ. 2544) ISBN 974-475-655-5 </ref>
 
{{คำพูด|เป็นปลาที่มีความนิยมมากในหมู่[[คนจีน]] และมีผู้มารอรับซื้อจากชาวประมงอวนลอย ให้ราคาตัวละ 1-3 บาท|}}
 
 
ปัจจุบัน สูญพันธุ์ไปแล้วจาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และหายากมากที่[[ทะเลสาบสงขลา]] และ[[ระนอง]] แต่ยังมีพบบ้างที่[[Racung River|แม่น้ำราจัง]]ที่[[รัฐซาราวัค]] ใน[[มาเลเซีย]] แต่ก็ลดจำนวนลงมากแล้ว <ref>[[กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์]], [[ชวลิต วิทยานนท์]] ดร., ''ปลาน้ำจืดหายากที่สุด ๑๐ ชนิดของไทย'' นิตยสาร Aquarium Biz หน้า 66 ฉบับที่ 16 ปีที่ 2: [[ตุลาคม]] [[ค.ศ. 2011|2011]]</ref>
 
ปัจจุบัน สูญพันธุ์ไปแล้วจาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และหายากมากที่[[ทะเลสาบสงขลา]] และ[[ระนอง]] โดยปลาที่พบวางขายใน[[ตลาดสด]]ใน[[กรุงเทพ]] หรือ[[ภาคใต้]] นั้นนำเข้ามาจากประเทศอื่นในภูมิภาค[[เอเชียอาคเนย์]] ได้แก่ [[พม่า]], [[อินโดนีเซีย]], มาเลเซีย และเข้าใจว่าเป็นปลาตะลุมพุกชนิด ''[[มาเลเซียTenualosa ilisha|T. ilisha]]'' เป็นต้นซึ่งเป็นปลาคนละชนิดมากกว่า เป็นปลาที่[[ชาวจีน]]นิยม[[กิน|บริโภค]]มาก แม้ว่าเนื้อจะมีก้างเยอะ แต่ต้องรู้วิธี[[การทำอาหาร|การปรุง]]และบริโภคจึงไม่ถูกก้างตำ เนื้อมีรสชาติดี มีราคาขายที่แพงมาก<ref>หนังสือปลาน้ำจืดไทย โดย ดร.ชวลิต วิทยานนท์ (กรุงเทพ, พ.ศ. 2544) ISBN 974-475-655-5 </ref>
 
ในกลางปี [[ค.ศ. 2010]] ทางกรมประมงได้ทำโครงการปะการังเทียมขึ้นทั้งทาง[[อ่าวไทย]]และ[[ทะเลอันดามัน]] ปรากฏว่า มีปลาหลายชนิดที่หายากหวนกลับคืนมา รวมถึงปลาตะลุมพุกด้วย<ref>[http://pets.thaipetonline.com/%E0%B8%9B%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A5.html ปะการังเทียมช่วยปลาตะลุมพุก หวนกลับสู่น่านน้ำไทย]</ref>
 
== อ้างอิง ==