ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรงนักเรียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Guyza (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Guyza (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
<big>'''ทรงนักเรียน'''</big> เป็นทรงผมสำหรับ[[นักเรียน]][[ชาย]]และ[[หญิง]] โดย[[ผู้ชายนักเรียน]][[ชาย]]ตัดด้านข้างและด้านหลัง[[เกรียน]] ส่วนด้านบนและด้านหน้าไว้ยาว [[ผู้หญิงนักเรียน]]ยาวไม่เกินปกเสื้อนักเรียน เป็นระเบียบการแต่งกายของโรงเรียนสายสามัญส่วนใหญ่ในประเทศไทย[[หญิง]]ไว้ผมด้านข้างและด้านหลังสั้นเสมอกัน
 
== ที่มาทรงนักเรียน ==
'''ทรงนักเรียน'''ได้มาจาก[[ประเทศญี่ปุ่น]]ในสมัยช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ซึ่งในสมัยช่วงสงครามนั้นเกิดเหาระบาดมาก ทำให้ประชาชนจึงนิยมตัดสั้นเกรียน <ref>ศ.ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ จากหนังสือพิมพ์มติชนฉบับ 2 พฤศจิกายน 2550</ref>
 
กระทรวงศึกษาธิการได้ออก[[:s:กฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2515) (กระทรวงศึกษาธิการ)|กฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2515)]] แก้ไขเพิ่มเติมโดย[[:s:กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2518) (กระทรวงศึกษาธิการ)|กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2518)]] ออกตามความใน[[:s:ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132|ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132]] ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2515 <ref>[http://school.obec.go.th/permit/law/rab19.pdf บันทึกข้อความ ที่ ศธ ๐๒๐๔/๕๒๘๕ วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๖ เรื่อง ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการแต่งกายและความประพฤตินักเรียน]</ref> ในเรื่องเกี่ยวกับทรงผมที่ ''ไม่เหมาะสมแก่สภาพของนักเรียน'' กฎกระทรวงฉบับที่ 1 ระบุว่า