ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิตซูบิชิ แลนเซอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''มิตซูบิชิ แลนเซอร์''' (Mitsubishi Lancer) เป็นรถรุ่นหนึ่ง ผลิตโดย [[มิตซูบิชิ มอเตอร์ส]] เป็นรถที่ออกแบบมาเพื่อแข่งขันกับ [[ฮอนด้า ซีวิค]] และ [[โตโยต้า โคโรลล่า]] คือ เป็นรถรุ่นที่สามารถนำไปใช้ได้ทั้งการใช้เป็นรถครอบครัวและรถสปอร์ตในคันเดียวกัน เพราะแลนเซอร์, ซีวิค และโคโรลล่า จะไม่เล็กเกินไปสำหรับผู้ที่ใช้มันเป็นรถครอบครัว แต่ก็จะมีสมรรถนะสูง เล็ก เพรียว กระชับ ไม่ใหญ่เทอะทะเกินไปสำหรับผู้ที่ใช้มันเป็นรถสปอร์ต และมีราคาที่ถูก ดังนั้น รถสามรุ่นในสามยี่ห้อนี้ จึงสามารถพบเห็นได้มากตามท้องถนน
 
มิตซูบิชิ แลนเซอร์ เริ่มผลิตมาตั้งแต่ [[.ศ. 19732516]] จนถึงปัจจุบัน ผลิตรถออกมาทั้งสิ้น 9 รูปโฉม (Generation) และมียอดขายรวมทั่วโลก กว่า 6 ล้านคัน
 
แลนเซอร์ โฉมที่ 1-7 จัดอยู่ในประเภท[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดเล็กมาก]] (Subcompact Car) ส่วนโฉมที่ 8 เป็นต้นมา จัดอยู่ในประเภท[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดเล็ก]] (Compact Car)
 
== Generation ที่ 1 ([[.ศ. 19732516]] - [[.ศ. 19792522|19792522]]) ==
 
[[ไฟล์:Mitsubishi Lancer 1st.JPG|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 1]]
 
โฉมนี้ พ่อค้ารถในไทยมักเรียกว่า '''โฉมไฟแอล''' เนื่องจากไฟท้ายรถมีลักษณะเหมือนตัว L ในด้านซ้าย และ L กลับข้างในด้านขวา (ตัว L กลับหน้ากลับหลังเข้าหากัน) โฉมนี้ค่อนข้างประสบความสำเร็จในวงการแข่งขันแรลลี่ มีการผลิตรถรุ่นนี้ถึง 12 โมเดล ตั้งแต่โมเดลมาตรฐาน เครื่องยนต์ 1200 ซีซี ไปจนถึงโมเดลสปอร์ตแรลลี่ เครื่องยนต์ 1600 ซีซี GSR
 
มีตัวถัง 3 แบบ คือ coupe 2 ประตู, [[รถซีดาน|sedan]] 4 ประตู และ station wagon 5 ประตู (จริงๆ แล้วมีตัวถัง sedan 2 ประตูด้วย แต่ไม่เป็นที่รู้จักนัก)
 
โฉมนี้ ถูกส่งออกไปหลายประเทศ เช่น [[ออสเตรเลีย]] , [[สหรัฐอเมริกา]] รวมถึงในประเทศไทย ซึ่งจะมีการตั้งชื่อเรียกใหม่ในบางประเทศ เช่น ในออสเตรเลีย จะเรียกแลนเซอร์ว่า Chrysler Valiant Lancer และในสหรัฐอเมริกา เรียกแลนเซอร์ว่า Dodge Colt
* รุ่นนี้เริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อ .ศ. 19742517-19802523
{{clear}}
 
== Generation ที่ 2 ([[.ศ. 19792522]] - [[.ศ. 19882531|19882531]]) ==
 
[[ไฟล์:Lancer EX.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 2]]
 
โฉมนี้ พ่อค้ารถและวงการรถไทยเรียกโฉมนี้ว่า '''โฉมกล่องไม้ขีด''' ซึ่งโฉมนี้ได้รับการพัฒนามากในเรื่องของประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ ในเรื่องของการใช้น้ำมันให้คุ้มค่ามากขึ้น การลดปริมาณเสียงในห้องโดยสาร และการผสมผสานเทคโนโลยีรถสปอร์ตเข้าไป เพื่อให้ผู้ซื้อรถสามารถสัมผัสความเป็นรถสปอร์ตได้บ้างในราคาที่ไม่แพง
 
แลนเซอร์โฉมนี้ แทบทุกคัน เครื่องยนต์ที่ใช้ เป็นเครื่องยนต์ประเภท JET ซึ่งไม่เหมือนกับเครื่องยนต์คาร์บูเรเตอร์และหัวฉีดทั่วๆ ไป ตั้งแต่แบบอ่อนๆ 70 แรงม้า ไปจนถึงแรงจัด 168 แรงม้า แต่กลับประหยัดน้ำมันได้ดี คือ อัตราสิ้นเปลืองน้ำมันเมื่อวิ่งในเมือง 9.8 กิโลเมตรต่อลิตร และ 15.8 กิโลเมตรต่อลิตรเมื่อวิ่งในชนบท ซึ่งนับว่าประหยัดมาก เมื่อเทียบกับรถยนต์รุ่นอื่นๆ ในช่วงเวลาเดียวกัน และความแปลกใหม่ของเครื่องยนต์ และสมรรถนะที่ดี ก็เป็นอีกจุดขายหนึ่ง ที่ทำให้แลนเซอร์โฉมนี้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ.ศ. 19802523-19852528
{{clear}}
 
== Generation ที่ 3 ([[.ศ. 19822525]] - [[.ศ. 19832526|19832526]]) ==
 
[[ไฟล์:1986-1988 Mitsubishi Colt (RD) GL sedan 01.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 3]]
 
โฉมที่ 3 ผลิตในช่วงเวลาที่ทับซ้อนกันกับโฉมที่ 2 มักทำตลาดในชื่อ Lancer Fiore ในหลายจุด ยกเว้นในแถบออสเตรเลีย จะใช้ชื่อ Mitsubishi Colt และในแถบอเมริกา ใช้ชื่อ Dodge Colt ซึ่งพัฒนามาจากรถรุ่น Mitubishi Mirage ซึ่งได้รับกระแสตอบรับพอสมควร แต่ในขณะเดียวกัน แลนเซอร์กับมิราจก็จัดเป็นรถขนาดเดียวกัน และกลายเป็นว่า มิตซูบิชิมีรถขนาดเล็กมากสองรุ่น ที่ขัดขาแย่งยอดขายกันเอง
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ ค.ศ. 19832526-19852528
{{clear}}
== Generation ที่ 4 ([[.ศ. 19832526]] - [[.ศ. 19882531|19882531]]) ==
 
[[ไฟล์:Lancer 4gen.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 4]]
 
โฉมนี้ เป็นโฉมที่ผลิตขึ้นในช่วงเวลาที่ซ้อนทับกับโฉมที่ 2 มีรูปทรงคล้ายกัน แต่มีความเป็นรถธรรมดามากขึ้น ใช้เครื่องยนต์หัวฉีดขับเคลื่อนล้อหน้าธรรมดา ไม่ใช้เครื่องยนต์ที่แปลกดังโฉมที่ 2 แต่ก็มีความทันสมัย เพราะระบบเครื่องยนต์หัวฉีด แทบไม่เป็นที่รู้จักในสมัยนั้น สมัยนั้นรถที่เป็นหัวฉีดส่วนใหญ่เป็นรถแข่ง รถสปอร์ตเต็มขั้น หรือรถหรูๆ จากตะวันตกเท่านั้น นอกนั้นส่วนใหญ่จะเป็นระบบคาร์บูเรเตอร์ การนำระบบหัวฉีดมาใช้ในรถทั่วไปในสมัยนั้นจึงเป็นความทันสมัยอย่างหนึ่ง และระบบขับเคลื่อนล้อหน้า สมัยนั้นก็ไม่ค่อยมีเช่นกัน ส่วนใหญ่จะเป็นแบบขับเคลื่อนล้อหลัง ทำให้มีการนำแลนเซอร์โฉมที่ 4 ไปปรับแต่งเป็นรถสปอร์ตกึ่งครอบครัวเป็นจำนวนมาก และในประเทศไทย โฉมนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ '''Champ'''
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ .ศ. 19842527-19972534
* รุ่นนี้เริ่มมีคนเอาไปทำเป็นแท็กซี่แล้ว
{{clear}}
 
== Generation ที่ 5 ([[.ศ. 19882531]] - [[.ศ. 19912534|19912534]]) ==
 
[[ไฟล์:1988-1990 Mitsubishi Lancer (CA) GLX sedan 01.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 5]]
บรรทัด 53:
{{clear}}
 
== Generation ที่ 6 ([[.ศ. 19912534]] - [[.ศ. 19952538|19952538]]) ==
 
[[ไฟล์:Mitsubishi_Lancer_(Chiang_Mai,_Thailand).jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 6]]
 
โฉมนี้ เป็นที่รู้จัก และเป็นที่นิยมมากในประเทศไทย วงการรถตั้งชื่อโฉมนี้ว่า '''โฉม E-CAR''' ซึ่งมีการนำเข้ามาขายเป็นจำนวนมาก มีความทนทาน แม้เวลาจะล่วงเลยมากว่า 1920 ปี ก็ยังสามารถเห็นแลนเซอร์โฉมนี้ได้ทั่วไปตามท้องถนน ในประเทศไทย แลนเซอร์โฉมนี้ มีทั้งการใช้เป็นรถส่วนตัว รถครอบครัว และแต่งเป็นรถสปอร์ต
 
เมื่อปี .ศ.19922535 Lancer E-CAR มีรุ่นย่อยดังนี้
 
*1.3 GL
บรรทัด 66:
*1.8 GTi (นำเข้า)
 
ต่อมาเมื่อปี 19952538 Lancer E-CAR ได้ยกเลิกการจำหน่าย 1.3 และ 1.8 เปลื่ยนระบบจ่ายเชี้อเพลิงในรุ่น 1.5 จากคาร์บูเรเตอร์เป็นระบบหัวฉีด ECi-MULTI และนำรุ่น 1.6 มาประกอบในประเทศ โดยคงเหลือรุ่นย่อย คือ
 
*1.5 GLXi
บรรทัด 73:
หลังจากนั้นมีการปรับโฉมเล็กน้อยในรุ่น 1.5 โดยขอบประตูจะเป็นสีเดียวกับตัวรถ ซึ่งของเดิมเป็นสติกเกอร์สีดำ เปลื่ยนกระจังหน้าใหม่แบบซี่ และเพิ่มไฟเบรกดวงที่สามในห้องโดยสาร และในรุ่น 1.6 มีการเปลื่ยนล้อแม็กซ์เป็นขนาด 14 นิ้ว เพิ่มไฟตัดหมอกหน้า และสปอยเลอร์หลังเป็นอุปกรณ์มาตรฐาน และปรับเปลื่ยนฝาครอบชุดดรัมเบรกหลัง
 
E-Car นับจากปี 19952538 เป็นต้นมา เปลื่ยนคอมเพรสเซอร์แอร์ที่ใช้น้ำยาเบอร์ R134A ตามนโยบายภาครัฐที่ต้องการให้ลดการใช้น้ำยาแอร์แบบ R12
 
ต่อมาเมื่อปี .ศ.19962539 Lancer E-CAR ได้ปรับโฉมโดยเปลื่ยนล้อแม็กซ์ลายใหม่ เปลื่ยนกันชนให้มีลักษณะยาวและหนาขึ้น รวมถึงเปลื่ยนกระจังหน้าใหม่ เปลื่ยนท่อร่วมไอดีในรุ่น 1.5 โดยตัวอักษรคำว่า ECi-MULTI จะเล็กลง และนำรุ่น 1.3 กลับมาเพื่อตอบสนองลูกค้าระดับล่าง โดยมีรุ่นย่อย ดังนี้
 
*1.5 EL
บรรทัด 84:
แต่ว่า ในตัวถังนี้นี้ มิตซูบิชิ มอเตอร์ส ได้สร้างรถรุ่นใหม่ขึ้นมา เป็นเนื้อหน่อของแลนเซอร์ ซึ่งรถรุ่นที่ "แตกหน่อ" ออกมานี้ คือ [[มิตซูบิชิ แลนเซอร์ อีโวลูชัน|Mitsubishi Lancer Evolution]] ซึ่งมีสมรรถนะสูงกว่าแลนเซอร์ธรรมดา เนื่องจากสร้างมาสำหรับการเป็นรถสปอร์ตแรลลี่โดยเฉพาะ แต่แลนเซอร์ อีโวลูชัน ไม่เป็นที่นิยมในประเทศไทยนัก ด้วยเพราะผู้ซื้อนิยมนำรถแลนเซอร์ธรรมดาไปแต่งสปอร์ตเองมากกว่า นอกจากนี้ อัตราภาษีนำเข้ารถยนต์ของไทยที่สูง ก็มีผลทำให้รถแลนเซอร์ อีโวลูชัน (ของจริง) ซึ่งผลิตในต่างประเทศ มีราคาในประเทศไทยแพงกว่ารถแลนเซอร์ทั่วไปมาก
{{clear}}
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ .ศ.19922535-19962539
* รุ่นนี้ไม่มีแท็กซี่
 
== Generation ที่ 7 ([[.ศ. 19952538]] - ปัจจุบัน) ==
 
[[ไฟล์:97-02 Mitsubishi Mirage.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 7]]
บรรทัด 99:
*1.8 SEi Limited
 
อย่างไรก็ตาม โฉมนี้ก็จัดเป็นอีกโฉมหนึ่ง ที่ประสบความสำเร็จในประเทศไทย มีการนำไปแต่งเป็นรถสปอร์ต นอกเหนือจากการใช้เป็นรถส่วนตัวและรถครอบครัว เช่นเดียวกับโฉมเดิม และปัจจุบัน ก็ยังสามารถพบเห็นรถโฉมนี้ได้ทั่วไปเช่นกัน และมิตซูบิชิยังผลิตแลนเซอร์รุ่นที่ 7 จากโรงงานส่งป้อนตลาดอยู่ในบางประเทศ เช่น ประเทศเวเนซูเอลา ถึงแม้จะออกแบบมานานถึง 1516 ปีแล้ว
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ .ศ. 19962539-20012544
{{clear}}
 
== Generation ที่ 8 ([[.ศ. 20002543]] - ปัจจุบัน) ==
 
[[ไฟล์:04-05 Mitsubishi Lancer Ralliart.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 8]]
 
แลนเซอร์ทุกรุ่นในประเทศไทยที่ออกหลังโฉมท้ายเบนซ์ จัดอยู่ใน Generation ที่ 8 รวมถึงโฉมปัจจุบันที่ยังขายในประเทศไทยด้วย ซึ่งโฉมนี้ จัดได้ว่าเป็นโฉมที่แลนเซอร์มีหลายรูปแบบ แต่ที่เป็นที่รู้จักในไทยของโฉมที่ 8 คือโฉม Lancer Cedia ที่ขายในช่วง .ศ. 20012544-20042547 และปรับโฉมตามภาพที่แสดง และเพิ่มทางเลือกคือ New Lancer E20 และ Lancer CNG ที่ขายในไทยอยู่จนถึงปัจจุบัน และในโฉมนี้ ใช้ระบบส่งกำลัง CVT 6 Speed แต่การทำงานต่างกับที่ใส่ใน Lancer EX ตัวปัจจุบัน
 
รุ่นปี 2001-2004 Lancer Cedia
1.6 GLX Manual
1.6 GLXi CVT
1.6 GLXi Limited
1.8 SEi Limited
รุ่นปี 2004 (ท้ายปี)- ปัจจุบัน
รุ่นปี 2004-2005 กันชนด้านหน้าและหลังจะเป็นแบบสั้น
1.6 GLX Manual
1.6 GLX CVT
บรรทัด 126:
แม้ปัจจุบันนี้ แลนเซอร์ในตลาดสากลจะก้าวเข้าสู่ Generation ที่ 9 แล้ว แต่แลนเซอร์ในประเทศไทยยังขายโฉมที่ 8 เพื่อขยายฐานลูกค้าของ Mitsubishi โดยให้แลนเซอร์โฉมนี้ และแลนเซอร์ อีเอ็กซ์ ตีตลาดรถยนต์นั่ง ต่างแซกเมนต์กัน
{{clear}}
* รุ่นนี้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อ .ศ. 20012544-ปัจจุบัน
 
== Generation ที่ 9 ([[.ศ. 20072550]] - ปัจจุบัน) ==
 
[[ไฟล์:2008-Mitsubishi-Lancer.jpg|thumb|มิตซูบิชิ แลนเซอร์ โฉมที่ 9]]
 
โฉมที่ 9 นี้ ทาง บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำแลนเซอร์รุ่นที่ 9 นี้เข้ามาขายตั้งแต่ [[.ศ. 20092552]] มีการเปลี่ยนแปลงชื่อให้แตกต่างจากรุ่นที่แล้ว คือ มีการเพิ่มเติมในส่วนของตัวอักษร EX (Exceed) ต่อจากคำว่า Lancer เนื่อจากต้องการแบ่งแยกตลาดให้ชัดเจนโดย
*Lancer โฉมเก่าทำหน้าที่รถยนต์ B-Segment ไว้ต่อกรกับ [[โตโยต้า วีออส|Toyota VIOS]], [[ฮอนด้า ซิตี้|Honda City]], [[นิสสัน มาร์ช|Nissan March]], [[มาสด้า 2|Mazda 2]], Suzuki Swift, [[ฟอร์ด เฟียสตา|Ford Fiesta]] และอื่น ๆ
*Lancer EX ทำหน้าที่รถยนต์ C-Segment ไว้ต่อกรกับ Toyota Corolla Altis, Honda Civic, Nissan Tiida, Mazda 3, Ford Focus, Cheverolet Cruze และอื่น ๆ