ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เงินไซซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Grandpalace s (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Grandpalace s (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
เมื่อครั้งที่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานีของไทย (ประมาณปี พ.ศ. ๑๗๘๑-๑๙๘๑) และชนชาติไทยเริ่มผลิตเงินพดด้วงออกใช้เป็นเงินตราอย่างแพร่หลายนั้น อาณาเขตทางตอนเหนือของสุโขทัยคือ อาณาจักรลานนาไทย ซึ่งมีเนื้อที่ครอบคลุมถึงจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง และน่านในปัจจุบันก็มีเงินท้องถิ่นของตนใช้อยู่ คือ เงินกำไล เงินเจียง เงินดอกไม้ และเงินท้อก เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีเงินตราอีกชนิดหนึ่งซึ่งถึงแม้จะไม่ใช่เงินที่ทำขึ้นในท้องถิ่นนั้น แต่ก็ได้รับการยอมรับและใช้เป็นสื่อกลางในการค้าขายในอาณาจักรลานนาไทยเป็นเวลาช้านานมาแล้ว เงินชนิดนี้มีแหล่งกำเนิดจากประเทศจีน รู้จักกันดีในนามของ “เงินไซซี”
 
'''เงินไซซี''' เป็นเงินแท่งซึ่งมีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศจีน โดยพ่อค้าชาวจีนนำเข้ามาเพื่อใช้ในการซื้อสินค้าเมื่อครั้งที่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีของไทย (ประมาณปี พ.ศ. ๑๗๘๑-๑๙๘๑) และชนชาติไทยเริ่มผลิตเงินพดด้วงออกใช้เป็นเงินตราอย่างแพร่หลายนั้น โดยอาณาเขตทางตอนเหนือของสุโขทัยคือ อาณาจักรลานนาไทย ซึ่งมีเนื้อที่ครอบคลุมถึงจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง และน่านในปัจจุบัน ก็มีเงินท้องถิ่นของตนใช้อยู่ คือได้แก่ เงินกำไล เงินเจียง เงินดอกไม้ และเงินท้อก เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีแต่เงินไซซีก็เป็นเงินตราอีกชนิดหนึ่งซึ่งถึงแม้จะไม่ใช่เงินที่ทำขึ้นในท้องถิ่นนั้น แต่ก็ได้รับการยอมรับและใช้เป็นสื่อกลางในการค้าขายในอาณาจักรลานนาไทยเป็นเวลาช้านานมาแล้ว เงินชนิดนี้มีแหล่งกำเนิดจากประเทศจีน รู้จักกันดีในนามของขณะนั้นด้วย “เงินไซซี”
==ความเป็นมา==
 
'''“ไซซี”''' เป็นคำภาษาจีน แปลว่า ไหมบริสุทธิ์ ที่เรียกเงินแท่งว่าเงินไซซี ก็เป็นการเปรียบเทียบกับโลหะเงินหรือทองที่ถูกหลอมจนเหลวและไหลเป็นสายลงไปในแม่พิมพ์ มองดูคล้ายสายไหมนั่นเอง เงินไซซีมีวิธีการทำโดยการหล่อจากแม่พิมพ์ให้มีรูปร่างตามต้องการ และขณะที่โลหะยังแข็งตัวไม่เต็มที่ก็จะตีตราประทับชื่อผู้ออกเงิน สถานที่ผลิตเงิน และข้อความอื่นๆ ลงบนด้านบนของเงินไซซี นอกจากนั้นยังเป็นเงินที่ไม่มีราคาหน้าเหรียญเพราะเป็นแท่งเงินที่กำหนดค่าโดยน้ำหนักและเนื้อเงิน ทั้งนี้ ลักษณะรูปร่าง ขนาด น้ำหนัก และเนื้อเงินของเงินไซซีอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแหล่งที่ทำ จึงไม่จำเป็นที่เงินไซซีจะต้องทำจากเนื้อเงินบริสุทธิ์เสมอไป แต่เงินไซซีที่ทำด้วยเนื้อเงินบริสุทธิ์ก็มี เงินไซซีอานม้า (Saddle money) เงินไซซีรองเท้า (Shoe money) เงินไซซีเรือสำเภา (Boat money) เงินไซซีขนมครก เป็นต้น และเมื่อต้องการใช้เงินปลีกย่อยก็จะตัดเงินไซซีออกเป็นส่วนย่อยๆ ตามน้ำหนักที่ต้องการ โดยเงินไซซีที่พบมากที่สุดคือ เงินไซซีรองเท้า ซึ่งมีลักษณะคล้ายรองเท้าของสตรีจีนที่นิยมสวมใส่ในสมัยโบราณ สำหรับเงินไซซีทองคำนั้นมีการพบน้อยมาก และเงินไซซีที่มีน้ำหนักมากที่สุดที่พบในประเทศไทยคือ เงินไซซีเรือสำเภาซึ่งมีน้ำหนักถึง ๑๒๕ บาท (ประมาณ ๑,๘๗๕ กรัม) ด้วยเหตุที่เป็นเงินแท่งที่มีความบริสุทธิ์สูง สามารถตีให้ยาวเหยียดคล้ายเส้นไหมได้ คนไทยจึงเรียกเงินไซซีนี้ว่า เงินมุ่น ซึ่งแปลว่า ละเอียดเหมือนมุ่นไหม ชาวลานนาจึงนิยมนำมาใช้เครื่องประดับ ตลอดจนเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น ขันเงิน เชี่ยนหมากเงิน เข็มขัดเงิน ตลอดจนใช้เป็นเงินตราของอาณาจักรลานนาด้วย
[[ไฟล์:เงินไซซีอานม้า.jpg|thumb| right| 150px]]
 
'''การใช้เงินไซซีในประเทศไทยจีนมีดังนี้'''
คำว่า “ไซซี” เป็นภาษาจีนแปลว่า ไหมบริสุทธิ์ ที่เรียกเงินแท่งว่าเงินไซซี ก็เป็นการเปรียบเทียบกับโลหะเงินหรือทองที่ถูกหลอมจนเหลวและไหลเป็นสายลงไปในแม่พิมพ์ มองดูคล้ายสายไหมนั่นเอง เงินไซซีที่พบมากที่สุดคือ เงินไซซีรองเท้า (Shoe money) ซึ่งมีลักษณะคล้ายรองเท้าของสตรีจีนที่นิยมสวมใส่ในสมัยโบราณ นอกจากนั้นก็มีเงินไซซีอานม้า (Saddle money) เงินไซซีเรือสำเภา (Boat money) บ้างก็ทำเป็นรูปร่างตามจินตนาการต่างๆ ของผู้ทำเงิน เช่น รูปปลา รูปผีเสื้อ รูปใบไม้ เป็นต้น เมื่อต้องการใช้เงินปลีกย่อยก็จะตัดเงินไซซีออกเป็นส่วนย่อยๆ ตามน้ำหนักที่ต้องการ
เงินไซซีทำโดยการหล่อจากแม่พิมพ์ให้มีรูปร่างตามต้องการ และขณะที่โลหะยังแข็งตัวไม่เต็มที่ก็จะตีตราประทับชื่อผู้ออกเงิน สถานที่ผลิตเงิน และข้อความอื่นๆ ลงบนด้านบนของเงินไซซี เงินไซซีไม่มีราคาหน้าเหรียญเพราะเป็นแท่งเงินที่กำหนดค่าโดยน้ำหนักและเนื้อเงิน ทั้งนี้ น้ำหนักและเนื้อเงินของเงินไซซีอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแหล่งที่ทำ จึงไม่จำเป็นที่เงินไซซีจะต้องทำจากเนื้อเงินบริสุทธิ์เสมอไป
 
[[ไฟล์:เงินไซซี.jpg|thumb| right| 150px]]
 
'''สมัยราชวงศ์ฮั่น'''
 
การใช้เงินไซซีในประเทศจีนเริ่มปรากฏหลักฐานการใช้ในสมัยราชวงศ์ฮั่น (Han Dynasty) ซึ่งมีเงินไซซีที่ทำด้วยโลหะเงินและทองคำสำหรับใช้ในการค้าขายรายใหญ่ๆ ซึ่งโดยเงินไซซีทองคำจะใช้เป็นรางวัลบำเหน็จความชอบในราชการด้วย ส่วนสำหรับการซื้อขายรายย่อยๆ ในชีวิตประจำวันจะใช้เงินเหรียญที่ชาวตะวันตกเรียกว่า cash coin ซึ่งส่วนใหญ่ทำด้วยทองเหลืองและทองแดงลักษณะเป็นเหรียญกลมแบน มีรูตรงกลางสำหรับห้อยกับเชือกเป็นพวงเพื่อสะดวกในการพกพา
 
'''สมัยราชวงศ์มองโกล'''
 
ในสมัยราชวงศ์มองโกล (Mangol Dynasty) ประมาณปี พ.ศ. ๑๘๒๓-๑๙๑๑ เงินไซซีและธนบัตรกลายเป็นเงินตราที่สำคัญที่สุดในของประเทศจีน ซึ่งในขณะที่เงินเหรียญนั้นไม่เป็นที่นิยมใช้เงินเหรียญ เห็นได้จากการที่นักสำรวจชาวตะวันตก คือ มาร์โคโปโล ซึ่งได้เดินทางไปประเทศจีนในช่วงนั้นได้บันทึกเรื่องราวการใช้ธนบัตรและเงินไซซีโดยมิได้กล่าวถึงเงิน cash coin เลย
 
'''ปลายราชวงศ์หมิง จนถึง ต้นราชวงศ์กิง'''
 
ในปลายราชวงศ์หมิง (Ming Dynasty) เรื่อยมาจนถึงต้นราชวงศ์กิง (Quin Dynasty) คือ ในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงต้นคริสศตวรรษที่ ๒๕ เมื่อการค้าขายกับต่างชาติขยายตัวและเจริญมากขึ้น โดยเฉพาะการค้าขายไหมกับประเทศญี่ปุ่นและประเทศในทวีปอเมริกาและยุโรป ทำให้มีการนำเข้าโลหะเงินเป็นจำนวนมาก ประกอบกับเงินเหรียญไม่เพียงพอกับการขยายตัวทางการค้า รัฐบาลจีนจึงอนุญาตให้พ่อค้าและธนาคารในแต่ละท้องถิ่นเป็นผู้ผลิตเงินไซซีและธนบัตรของตนออกใช้เองในรูปลักษณะต่างๆ กัน เงินไซซีที่ออกโดยพ่อค้าและธนาคารส่วนใหญ่จะทำด้วยเนื้อเงินบริสุทธิ์และจะประทับตราชื่อพ่อค้าและธนาคารที่ออกเงิน สถานที่ที่ผลิตเงิน วันเดือนปี น้ำหนัก และเนื้อเงิน รวมทั้งอาจมีข้อความอื่นๆ เช่น “โชคดี” และ “อายุยืน” เป็นต้น ซึ่งประชาชนจะนิยมใช้ธนบัตรและเงินไซซีที่ออกโดยพ่อค้าและนายธนาคารที่ตนเชื่อถือมากกว่าเงินเหรียญที่ออกโดยรัฐบาล โดยพ่อค้าและธนาคารจะเป็นผู้ทดสอบน้ำหนักและความบริสุทธิ์ของเนื้อเงินของเงินไซซี ให้ได้มาตรฐานตามที่ตนกำหนดไว้
 
'''สมัยหลังกบฏไทปิง'''
 
หลังจากเกิดกบฏไทปิง (Taiping rebellion) ขึ้นในประเทศจีน เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๐๔ ชาวตะวันตกได้เพิ่มความสนใจที่จะทำการค้ากับประเทศจีนมากขึ้นถึงขนาดผลิตเหรียญดอลล่าร์เงินสำหรับเพื่อใช้ในการค้าขายกับประเทศจีน และบีบบังคับให้รัฐบาลจีนผลิตเหรียญกษาปณ์แบบมาตรฐานตะวันตกออกใช้ และเนื่องจากรัฐบาลกลางของประเทศจีนในขณะนั้นยังไม่มั่นคงและแข็งแกร่ง ทำให้มณฑลต่างๆ ในประเทศจีนต่างก็ตั้งโรงกษาปณ์และผลิตเหรียญเงินดอลล่าร์และเงินเซนต์ขึ้นใช้เอง โดยมีขนาดและมาตรฐานของเหรียญแตกต่างกันไปในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ ประเทศจีนซึ่งมีเงินตราหลักที่ใช้ในประเทศอยู่ ๓ ชนิด คือ เหรียญกษาปณ์แบบตะวันตก ธนบัตร และเงินไซซีที่ออกโดยพ่อค้าและธนาคาร และเงินเหรียญ cash coin เงินเหรียญดั้งเดิมที่ใช้ติดต่อกันมาช้านาน
 
'''สมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง'''
 
เงินไซซีและธนบัตรที่ออกโดยพ่อค้าเริ่มเสื่อมความนิยมลงเมื่อประเทศจีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรัฐในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ และได้ออกเหรียญดอลล่าร์จีนหรือที่เรียกว่า เงินหยวน (yuan) ออกใช้ ซึ่งได้รับการยอมรับจากประชาชนเป็นอย่างดี ในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ รัฐบาลจีนได้ประกาศเลิกใช้เงินไซซีไปในที่สุด
 
'''เงินไซซีในประเทศไทย'''
 
สำหรับเงินไซซีที่พบใช้กันอยู่ในอาณาจักรลานนาไทยเป็นเงินไซซีที่ทำด้วยเนื้อเงินบริสุทธิ์ มีทั้งเงินไซซีอานม้า เงินไซซีรองเท้า เงินไซซีเรือสำเภา และเงินไซซีขนมครก ฯลฯ คนไทยเรียกเงินไซซีว่า เงินมุ่น ซึ่งเป็นภาษาจีนแปลว่า ละเอียด หมายถึงเนื้อเงินที่มีความบริสุทธิ์สูงมาก เงินไซซีที่มีน้ำหนักมากที่สุดที่พบในประเทศไทยคือ เงินไซซีเรือสำเภา ซึ่งมีน้ำหนักถึง ๑๒๕ บาท (ประมาณ ๑,๘๗๕ กรัม)
เงินไซซีเข้ามาในอาณาจักรลานนาเรื่อยมา จนกระทั่งประเทศจีนเปลี่ยนแปลงการปกครองจากฮ่องเต้ราชวงศ์เชง มาเป็นระบบสาธารณรัฐ มียานซีไขเป็นประธานาธิบดีคนแรก และเริ่มผลิตเหรียญเงินชนิดกลมขึ้น เงินไซซีเหล่านี้จึงมีปะปนกันทั้งเงินสมัยโบราณ และเงินไซซีที่ทำขึ้นในยุครัตนโกสินทร์นี่เอง เนื่องจากไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปมากนัก เงินเหล่านี้ประทับอักษรจีนที่แสดงว่าเป็นเงินที่ใช้เป็นค่าภาษีฝิ่น ภาษีที่ดิน ภาษีชา ภาษีเกลือ ค่าผ่านทาง เงินที่แจกในพิธีแต่งงาน เป็นต้น ด้วยเหตุที่เงินแท่งพวกนี้มีความบริสุทธิ์สูง สามารถตีให้ยาวเหยียดคล้ายเส้นไหมได้ จึงเรียกว่า เงินมุ่น ซึ่งแปลว่าละเอียดเหมือนมุ่นไหม ชาวลานนาจึงนิยมนำเงินไซซีมาใช้เครื่องประดับ ตลอดจนเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น ขันเงิน เชี่ยนหมากเงิน เข็มขัดเงิน ตลอดจนเงินตราของอาณาจักรลานนา
 
==หนังสืออ้างอิง==
* เฉลิม ยงบุญเกิด. “กระษาปณ์ไทย” พิมพ์เป็นอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พล.อ.บริบูรณ์ จุละจาริตต์ พ.ศ. ๒๕๐๙.
*สารัตถะแห่งเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเงินตราสยาม พิมพ์ครั้งที่ ๑ มีนาคม ๒๕๓๙ ISBN 974-7700-09-3 สงวนลิขสิทธิ์ ๒๕๓๙ โดย กองเครื่องราชอิสริยยศ กรมธนารักษ์ พิมพ์ที่ บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* สำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์