ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดคูหาภิมุข"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Ddd.JPG|thumb|200px|ภายในถ้ำวัดคูหาภิมุข]]
 
เส้น 18 ⟶ 19:
ตำบลหน้าถ้ำเคยเป็นแหล่งชุมชนโบราณมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ พบร่องรอยศาสนสถาน เมืองโบราณ ซึ่งเป็นศาสนสถานที่พบเทวรูปสำริด กำแพงเมือง พระพิมพ์ดินดิบแบบทวารวดีศรีวิชัย ภาพเขียนสีพระพทธรูปฉาย ภาพเขียนสีราชรถมีสัตว์เทียม มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 15 -17 ยะลาเป็นชุมชนเกษตร นักโบราณคดีได้พบภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์บริเวณถ้ำคูหาภิมุข เป็นภาพพระพุทธฉายและภาพราชรถแกะสลักไว้บนหน้าผา ภายในบริเวณถ้ำคูหาภิมุข
 
== [[พระพุทธไสยาสน์]] ==
เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ปั้นด้วยดินเหนียวโดยใช้ไม่ไผ่เป็นโครง สร้างขึ้น[[สมัยศรีวิชัย]]รุ่งเรืองราว [[พ.ศ. 1300]]หรือสมัยเดียวกับ[[พระบรมธาตุเมืองนคร]] มีขนาดความยาว 81 ฟุต 1 นิ้ว ประดิษฐาน ภายใน[[ถ้ำคูหาภิมุข]] เดิมชื่อ [[วัดหน้าถ้ำ]] กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็น[[โบราณสถาน]] ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 ลงวันที่ 8 [[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2478]]
วัดคูหาภิมุข มี[[พระพุทธรูป]] [[สมัยศรีวิชัย]] [[สมัยสุโขทัย]] [[สมัยอู่ทอง]] ใกล้ๆกับวัดมีภูเขากำปั่นเป็นภูเขา[[หินอ่อน]][[สีชมพู]] สวยงามมาก ปัจจุบัน[[รัฐบาล]]ได้ให้สัมปทานแก่[[บริษัท]]เอกชนทำหินอ่อนจำหน่าย หินอ่อนสีชมพูจากยะลามีความสวยงาม มีชื่อเสียงระดับประเทศ