ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุ้งการ์ตูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fr:Gnathophyllidae
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| infraordo = [[Shrimp|Caridea]]
| superfamilia = [[Palaemonoidea]]
| familia = [[กุ้งการ์ตูน|Hymenoceridae]]
| familia = '''Gnathophyllidae'''
| familia_authority = [[JamesOrtmann]], Dwight[[ค.ศ. Dana1890|Dana1890]], 1852
| genus = ''Hymenocera''
| subdivision_ranks = [[Genus|Genera]]
| genus_authority = [[Latreille]], [[ค.ศ. 1819|1819]]
| subdivision =
| species = ''H. picta''
There are 4 genera and 12 species:<br>
| binomial = '''''Hymenocera picta'''''
''[[Gnathophylloides]]''<br>
| binomial_authority = [[James Dwight Dana|Dana]], [[ค.ศ. 1852|1852]]
''[[Gnathophyllum]]'' - bumblebee shrimp<br>
| synonyms =*''[[Hymenocera]] elegans'' -<small>Heller, harlequin[[ค.ศ. shrimp1861|1861]]<br/small>
''[[Levicaris]]''
}}
'''กุ้งการ์ตูน''' หรือ '''กุ้งตัวตลก''' ({{lang-en|Harlequin shrimp, Painted shrimp}}) เป็น[[กุ้ง]][[ทะเล]]ขนาดเล็ก[[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง มีลวดลายและ[[สี]]สัน[[สวย]]งาม มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Hymenocera picta'' จัดเป็น[[สิ่งมีชีวิต]]เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ใน[[genus|สกุล]] ''Hymenocera'' และ[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] Hymenoceridae<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=659793 จาก ITIS.gov {{en}}]</ref>
 
มีลักษณะลำตัวมีเปลือกแข็ง[[สีขาว]] แต้มด้วยลาย[[จุด]][[สีน้ำเงิน|สีฟ้า]] [[สีน้ำตาล]][[เพศผู้|ตัวผู้]]มีเปลือกสีขาวค่อนไปทาง[[เหลือง]] แต่ไม่มีจุด[[สีน้ำเงิน]] ส่วนตัวเมียจะมีสีจุดน้ำเงินชัดเจน มีขนาดลำตัวยาวเต็มที่ประมาณ 10-15 เซนติเมตร
'''กุ้งการ์ตูน''' ({{lang-en|Harlequin Shrimp}}) เป็นกุ้งทะเลขนาดเล็ก ที่มีลวดลาย โดยปัจจุบันนิยมนำมาเลี้ยงเพื่อความสวยงาม กุ้งการ์ตูนมีขนาดลำตัวยาว 10-15 เซนติเมตร มีอยู่สองสายพันธุ์ คือสายพันธุ์ Elegans กับสายพันธุ์ Pieta <ref>[http://www.thairath.co.th/news.php?section=agriculture&content=95403 กุ้งการ์ตูน...ตลกทะเลหลวง พระเอกใหม่ของนัก เลี้ยงปลาตู้]</ref>
 
กินอาหารจำพวก [[ดาวทะเล]], [[ปลิงทะเล]] และ[[เม่นทะเล]]
มีลักษณะลำตัวมีเปลือกแข็งสีขาว แต้มด้วยลายจุดสีฟ้า สีน้ำตาลตัวผู้มีเปลือกสีขาวค่อนไปทางเหลือง แต่ไม่มีจุดสีน้ำเงิน ส่วนตัวเมียจะมีสีจุดน้ำเงินชัดเจน
 
พบอาศัยอยู่ตาม[[แนวปะการัง]]หรือโพรง[[หิน]]ในแถบ[[อินโด-แปซิฟิก]] เช่น [[ทะเลอันดามัน]] ใน[[น่านน้ำไทย]]จะพบมากบริเวณ[[หมู่เกาะพีพี]]
 
กุ้งการ์ตูนวัยเจริญพันธุ์สามารถผสมพันธุ์และมีลูกกุ้งได้ คือวัย 7 เดือน ถึง 1 ปี ขึ้นไป โดยสามารถให้ลูกได้ตั้งแต่ 700-2,000 ตัว บางครั้งอาจให้ลูกถึง 3,000 ตัว ขึ้นอยู่กับช่วงวัย หากเป็นกุ้งที่มีอายุมาก จำนวนลูกก็จะยิ่งมาก ในลูกกุ้งวัยอ่อนจะกิน[[แพลงก์ตอน]]ทั้งแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์
 
ด้วยความที่มีขนาดเล็ก และสวยงาม จึงทำให้นิยมเลี้ยงเป็น[[ปลาตู้|สัตว์เลี้ยงสวยงาม]]ใน[[ตู้ปลา|ตู้กระจก]] ซึ่งในปัจจุบัน กุ้งการ์ตูนสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้แล้ว <ref>อุราณี ทับทอง, เพาะเลี้ยง "กุ้งการ์ตูน" สีสันแห่งโลกทะเลในตู้ใส คอลัมน์ เทคโนฯ สัตว์เลี้ยง [[วารสาร]][[เทคโนโลยีชาวบ้าน]] ([[20 พฤษภาคม|20/05/]][[พ.ศ. 2552|2552]], [[สำนักพิมพ์มติชน]])</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 30 ⟶ 36:
 
[[หมวดหมู่:กุ้ง]]
 
{{โครงสัตว์}}
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยง]]
 
[[defr:HummelgarnelenHymenocera picta]]
[[en:GnathophyllidaeHymenocera picta]]
[[fr:Gnathophyllidae]]
[[it:Gnathophyllidae]]