ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมโยธา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:FalkirkWheelSide 2004 SeanMcClean.jpg|thumb|250px|[[Falkirk Wheel]] สิ่งก่อสร้างใน[[สก็อตแลนด์]]สำหรับยกเรือข้ามแม่น้ำ]]
 
'''วิศวกรรมโยธา''' ({{lang-en|civil engineering}}) เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้าน[[วิศวกรรมศาสตร์]] ครอบคลุมการก่อสร้างตึก [[ตึกระฟ้า]] อาคาร [[สะพาน]] [[ถนน]] และ[[การขนส่ง|ระบบขนส่งอื่น ๆ]] รวมถึงระบบ[[สาธารณูปโภค]]ต่างๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการทำ[[รังวัด]]ในงานสำรวจและแผนที่ รวมไปถึงการวิเคราะห์ทาง[[ธรณีวิทยา|ธรณี]]และ[[ชลศาสตร์]] และการบริหารจัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะเน้นทางด้านการใช้วัสดุและทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรโยธา หรือเรียกกันว่า [[นายช่าง]] ในการทำงานในประเทศไทย ผู้ที่ประกอบวิชาชีพจะขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ [[ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม]] (กว.) โดยมีการจัดสอบระบบใหม่เริ่มต้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2552 ด้วยระบบสุ่มข้อสอบทั้งหมดผ่านระบบคอมพิวเตอร์ (เฉพาะระดับ "ภาคีวิศวกร")
 
การศึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธานั้นนับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเนี่องจากการ พัฒนาทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบันนั้นมีความก้าวหน้าสามารถเรียกได้ว่าเป็น การพัฒนาแบบก้าวกระโดดซึ่งมีผลโดยตรงกับการศึกษาทางด้านวิศวกรรมโยธาเช่นกัน ดังนั้นสถาบันการศึกษาหลายๆสถาบันจึงได้มีการปรับปรุงแผนการเรียนการสอนทาง ด้านวิศวกรรมโยธาให้มีความทันสมัยเพื่อผลิตบุคลากรทางด้านวิศวกรรมโยธา หรือที่เรียกกันว่า “วิศวกรโยธา” ที่มีคุณภาพและตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานมากขึ้น