ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ปากน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
|casualties1=ตาย 3<br/>บาดเจ็บ 2 <br/>เรือกลไฟเกยตื้น 1<br/>เรือนำร่องเสียหาย 1<br/>เรือปืนเสียหาย 1
|casualties2=ตาย ~10<br/>บาดเจ็บ ~12<br/>เรือปืนอับปาง 1<br/>เรือปืนเสียหาย 1{{fn|1}}
|notes=<br/>
*''เรือกลไฟของฝรั่งเศสถูกควบคุมโดยสยามหลังจากการรบโดยปราศจากการต่อต้าน''
}}
บรรทัด 22:
 
==ภูมิหลัง==
ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อเรือการข่าว "แองกงสตัง" (Inconstant) และเรือปืน "โกแมต" (Comète){{fn|2}} ของกองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางมาถึงปากแม่น้ำและขออนุญาตแล่นเรือผ่านปากแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อไปสมทบกับเรือ "ลูแตง" (Le Lutin)<ref name="สารคดี"/> เพื่อเจรจาต่อรอง เมื่อสยามปฏิเสธ ผู้บังคับบัญชาฝ่ายฝรั่งเศส พลเรือตรี แอดการ์ อูว์มัน (Edgar Humann) เมินเฉยต่อความต้องการของสยามและคำสั่งจากรัฐบาลฝร่งเศส ซึ่งก่อนการต่อสู้ พลเรือตรี อูว์มัน ได้รับคำสั่งห้ามเข้าสู่ปากแม่น้ำเพราะสยามได้เตรียมการอย่างดีสำหรับการรบ กองกำลังฝ่ายสยามประกอบด้วย[[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]]ที่พึ่งสร้างเสร็จ มีปืนเสือหมอบขนาด 6 นิ้ว 7 กระบอก{{fn|23}} สยามยังได้จมเรือสำเภาและเรือบรรทุกหินในแม่น้ำเพื่อเป็นแนวป้องกัน บีบให้เส้นทางเดินเรือกลายเป็นทางผ่านแคบๆ เพียงทางเดียว
 
เรือปืน 5 ลำจอดทอดสมออยู่ด้านหลังแนวสิ่งกีดขวาง ประกอบไปด้วย เรือมกุฎราชกุมาร, เรือทูลกระหม่อม, เรือหาญหักศัตรู, เรือนฤเบนทร์บุตรี และ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์{{fn|4}} มีเรือ 2 ลำเป็นเรือรบทันสมัย คือ เรือมกุฎราชกุมาร และเรือมูรธาวสิตสวัสดิ์<ref name="navy">[http://www.navy.mi.th/newwww/code/kingrama5/prepare02.html การสู้รบทางเรือในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112] พระปิยมหาราช กองทัพเรือ</ref> ขณะที่เรือที่เหลือเป็นเรือปืนเก่าหรือเรือกลไฟแม่น้ำที่ดัดแปลงมา มีการวางข่ายทุ่นระเบิด 16 ลูก ผู้บังคับบัญชาป้อมเป็นนายพลเรือชาว[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ดัตช์]]ซึ่งเป็นหนึ่งในชาว[[ยุโรป]]หลายคนที่เข้ารับราชการในกองทัพไทย พลเรือโท [[พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)]] เป็นผู้บังคับบัญชาเรือปืน
 
==ยุทธนาวี==
บรรทัด 40:
 
== เชิงอรรถ ==
*{{fnb|1}} เอกสารบางฉบับแสดงความสูญเสียดังนี้ ทหารฝรั่งเศสตาย 3 คนบาดเจ็บ 3 คน ทหารสยามตาย 8 คน บาดเจ็บ 41 คนและสูญหาย 1 คน<ref name="สารคดี"/><br>
*{{fnb|2}}เรือการข่าวแองกงสตัง ระวางขับน้ำ 825 ตัน ความเร็ว 13 นอต ปืนใหญ่ 14 ซม. 3 กระบอก ปืนใหญ่ 10 ซม. 1 กระบอก ปืนกล 37 มม. 5 กระบอก มีนาวาโท โบรี (Boy) เป็นผู้บังคับการเรือ และ ผู้บังคับหมู่เรือ เรือปืนโกแมต ระวางขับน้ำ 495 ตัน ปืนใหญ่ 14 ซม. 2 กระบอก ปืนใหญ่ 10 ซม. 2 กระบอก ปืนกล 37 มม. 2 กระบอก มีเรือเอกหลุยส์ ดาร์ติช ดู ฟูร์เนต์ (Louis Dartige du Fournet) เป็นผู้บังคับการเรือ<ref name="navy"/>
 
*{{fnb|23}} เอกสารบางฉบับมีป้อมผีเสื้อสมุทรรวมอยู่ด้วย<ref name="สารคดี">ไกรฤกษ์ นานา, วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112, สารคดีปีที่ 26 ฉบับที่ 308 ตุลาคม 2553</ref><br><!--
*{{fnb|4}}เรือมกุฎราชกุมาร ระวางขับน้ำ 609 ตัน ความเร็ว 11 นอต อาวุธประจำเรือไม่ทราบชัด ฝ่ายฝรั่งเศสบันทึกว่า มีปืนใหญ่ 15 ซม. 1 กระบอก ปืนใหญ่ 12 ซม. 5 กระบอก ปืนกล 3 กระบอก มีนาวาโท วี. กูลด์แบร์ก (Commander V. Guldberg) เป็นผู้บังคับการเรือ ดับเบิลยู. สมาร์ท (W. Smart) เป็นต้นกลเรือ เรือมูรธาวสิตสวัสดิ์ ระวางขับน้ำ 250 ตัน ปืนใหญ่อาร์มสตรอง 70 ปอนด์ 1 กระบอก ปืนใหญ่ 10 ซม. 4 กระบอก ปืนกล 1 กระบอก มี เรือเอก ดับเบิลยู. คริสต์มาส (Lieutenant W. Christmas) เป็นผู้บังคับการเรือ จี. แคนดุตตี (G. Candutti) เป็นต้นเรือ เรือหาญหักศัตรูระวางน้ำ 120 ตัน ความเร็ว 7 นอต ปืนใหญ่ 15 ซม. 1 กระบอก ปืนใหญ่ 12 ซม. 1 กระบอก มี เรือเอก เอส. สมีเกโล (Lieutenant S. Smiegelow) เป็นผู้บังคับการเรือ เรือนฤเบนทร์บุตรีระวางขับน้ำ 260 ตัน ปืนใหญ่ 10 ซม. 6 กระบอก เรือทูลกระหม่อม (เรือใบ) ระวางขับน้ำ 475 ตัน ปืนใหญ่ 10 ซม. 6 กระบอก<ref name="navy"/>
 
{{fnb|3}}<br>
 
{{fnb|4}}<br>-->
 
==อ้างอิง==