ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาตาดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''สกุลปลาปากเปี่ยน''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Scaphognathops}}) เป็นชื่อ[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]]ของ[[ปลาน้ำจืด]]ใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) 23 [[สปีชีส์|ชนิด]] คือ<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=687620 ITIS]</ref>
 
*''Scaphognathops bandanensis'' (Boonyaratpalin & Srirungroj, [[ค.ศ. 1971|1971]])
*''Scaphognathops stejnegeribandanensis'' <small>Boonyaratpalin & (SmithSrirungroj, [[ค.ศ. 19311971|19311971]]) </small>
*''Scaphognathops stejnegeri'' <small>(Smith, [[ค.ศ. 1931|1931]]) </small>
*''Scaphognathops theunensis'' <small>[[Kottelat]], [[ค.ศ. 1998|1998]]</small> <ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt จาก ITIS.gov {{en}}]</ref>
 
มีรูปร่างโดยรวมคล้ายปลาในวงศ์นี้ทั่วไป แต่ลำตัวกว้างและแบนข้างมากกว่า ส่วนหัวมีขนาดเล็ก จะงอยปากแหลม ริมฝีปากล่างมนกลมและมีขอบแข็ง ไม่มีหนวด เกล็ดใหญ่ ครีบหลังสีคล้ำ ปลายขอบของก้านครีบอันแรกเป็นหยักแข็ง ถัดจากส่วนนี้ไปจะมีลักษณะเรียวแหลม ครีบหางเว้าลึก ครีบอกและครีบท้องเล็ก ตัวมีสีเงินอมเทามีแต้มประสีคล้ำบนเกล็ด ขอบครีบหางสีแดงเรื่อ ด้านหลังสีจาง ปลาในช่วงวัยรุ่นจะมีจุด[[สีดำ]]ที่บริเวณโคนครีบหาง มีพฤติกรรมชอบไล่กัดกินเกล็ดของปลาตัวอื่น
เส้น 27 ⟶ 29:
เป็นปลาที่พบเฉพาะใน[[แม่น้ำโขง]]ตั้งแต่[[จังหวัดหนองคาย]]ลงมา เป็นปลาเศรษฐกิจใน[[ภาคอีสาน]] นิยมบริโภคโดยการปรุงสด ทำ[[ปลาร้า]] และรมควัน เป็นต้น และยังเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้อีกด้วยที่มีพบขายในตลาด[[ปลาสวยงาม]]เป็นบางครั้ง เพราะเป็นปลาที่พบตามฤดูกาล
 
มีชื่อเรียกที่ต่างออกไปว่า "ตาดำ" <ref>[[สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์]], หน้า 171 สาระน่ารู้ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๑ ([[พ.ศ. 2547]]) ISBN 974-00-8701-9</ref>
 
==อ้างอิง==