ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัทธรรมปุณฑรีกสูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
→‎เนื้อหา: ความในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรที่ยกมาไม่สอดคล้องกับบริบทของบทความ
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16:
 
== เนื้อหา ==
พระสูตรนี้มีด้วยกันสาระสำคัญกล่าวถึงยาน 3 ภาคอย่าง หรือยานอันจะพาสรรพสัตว์ข้ามพ้นห้วง[[วัฏสงสาร]]ได้ ได้แก่ประกอบด้วย [[อนุพุทธะ|สาวกยาน (ศฺราวกยาน)]], [[ปัจเจกพุทธะ|ปัจเจกพุทธยาน (ปฺรตฺเยกพุทฺธยาน)]] และ[[พระโพธิสัตว์|โพธิสัตวยาน (โพธิสตฺตฺวยาน)]] แต่ ยานทั้งสามนี้มิใช่หนทางที่ต่างกัน 3 สายที่แตกต่างกัน อันจะนำไปสู่เป้าหมาย 3 อย่างต่างกัน ทว่าเป็นหนทางหนึ่งเดียวที่จะนำไปสู่เป้าหมายหนึ่งเดียว
 
ภาษาต้นฉบับที่จารึกพระสูตรนั้นก็ไม่ปราฏชัด มีข้อเสนอว่า อาจแต่งเป็นภาษาถิ่น[[ปรากฤต]] จากนั้นจึงแปลเป็น[[ภาษาสันสกฤต ]] ทำให้มีพระสูตรนี้เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น และต่อมามีการแปลเป็น[[ภาษาจีน]]ถึง 6 สำนวน แต่สามฉบับแรกต้นฉบับสาบสูญไปแล้ว เหลือเพียงสามฉบับหลัง ที่หลงเหลือในปัจจุบันฉบับพระภิกษุธรรมรักษ์มีความเก่าที่สุดแปลในปี พ.ศ. 829 แต่ฉบับที่ได้รับความนิยมว่าแปลได้สละสลวยที่สุดคือฉบับของ[[พระกุมารชีพ]]ชาวเอเชียกลาง แปลเมื่อพ.ศ. 934 และฉบับแปลโดยท่านชญานคุปตะและท่านธรรมคุปตะ แปลในพ.ศ. 1144 เนื้อความของแต่ละฉบับมีความแตกต่างกันในบางส่วน สัทธรรมปุณฑรีกสูตรถือเป็นคัมภีร์หลักอีกเล่มหนึ่งที่มีการแปลเป็นภาษาจีน ทั้งยังเป็นพระสูตรยุคแรกสุด ที่ระบุคำว่า "[[มหายาน]]"ด้วย
 
* ฉบับพระภิกษุธรรมรักษ์ แปลเมื่อ พ.ศ. 829 นับเป็นฉบับที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังหลงเหลือในปัจจุบัน
ท่านวสุพันธุ ได้รจนาอรรถกถาพระสูตรนี้เป็นฉบับย่อ ให้ชื่อว่า '''สัทธรรมปุณฑรีกสูตรอุปเทศ ''' ในประเทศจีนได้มีคัมภีรชั้นฎีกาเกิดขึ้นมากมาย เช่น ของท่านเต้าเซิง, ฝ่าอวิ่น, [[จื้ออี]], จี้จ้าง และกุยจี เป็นต้น แม้แต่ท่านจื้ออี (มหาคุรุเทียนไท้) ผู้สถาปนา[[นิกายเทียนไท้]] ก็ได้อาศัยพื้นฐานจากพระสูตรเล่มนี้ ในญี่ปุ่น [[เจ้าชายโชโตกุ]] ก็ทรงแต่งอรรถาธิบายพระสูตรนี้ในชื่อว่า "ฮอกเกกิโช" [[พระนิชิเรนไดโชนิน]] ผู้สถาปนานิกาย[[นิชิเรนโชชู]] ก็ได้อาศัยพระสูตรเล่มนี้และเชื่อว่าเป็นพระสูตรที่สามารถทำให้บรรลุพุทธภาวะได้ ซึ่งพระสูตรเล่มนี้มีอิทธิพลอย่างมาก จนเกิดเป็นองค์กรทางศาสนาและสวดท่องพระสูตรนี้ เช่น นิกาย[[นิชิเรนโชชู]] [[สมาคมสร้างคุณค่า]] เป็นต้น
* ฉบับ[[พระกุมารชีพ]] ชาวเอเชียกลาง แปลเมื่อ พ.ศ. 934 กล่าวกันว่าเป็นฉบับที่แปลความได้สละสลวยที่สุด
* ฉบับท่านชญานคุปตะและท่านธรรมคุปตะ แปลเมื่อ พ.ศ. 1144
 
เนื้อความของแต่ละฉบับมีใจความหลักเหมือนกัน แต่รายละเอียดปลีกย่อยมีความแตกต่างกันในบางส่วน
 
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรถือเป็นคัมภีร์หลักอีกเล่มหนึ่งที่มีการแปลเป็นภาษาจีน ทั้งยังเป็นพระสูตรยุคแรกสุด ที่ระบุคำว่า "[[มหายาน]]"ด้วย
 
ท่าน[[พระวสุพันธุ ]]ได้รจนาอรรถกถาพระสูตรนี้เป็นฉบับย่อ ให้ชื่อว่า '''"สัทธรรมปุณฑรีกสูตรอุปเทศ '''" ในประเทศจีนได้มีคัมภีรชั้นฎีกาเกิดขึ้นมากมาย เช่น ของท่านเต้าเซิง, ฝ่าอวิ่น, [[จื้ออี]], จี้จ้าง และกุยจี เป็นต้น แม้แต่ท่านจื้ออี (มหาคุรุเทียนไท้) ผู้สถาปนา[[นิกายเทียนไท้]] ก็ได้อาศัยพื้นฐานจากพระสูตรเล่มนี้ ในญี่ปุ่น [[เจ้าชายโชโตกุโชโทะคุ]] ก็ได้ทรงแต่งอรรถาธิบายพระสูตรนี้ในชื่อว่า "ฮอกเกกิโช" [[พระนิชิเรนไดโชนิน]] ผู้สถาปนานิกาย[[นิชิเรนโชชู]] ก็ได้อาศัยพระสูตรเล่มนี้และเชื่อว่าเป็นพระสูตรที่สามารถทำให้บรรลุพุทธภาวะได้ ซึ่งพระสูตรเล่มนี้มีอิทธิพลอย่างมาก จนเกิดเป็นองค์กรทางศาสนาและสวดท่องพระสูตรนี้ เช่น นิกาย[[นิชิเรนโชชู]] [[สมาคมสร้างคุณค่า]] เป็นต้น
 
== ฉบับภาษาไทย ==