ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮิจิกาตะ โทชิโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
อย่างไรก็ตาม เซะริซะวะและนิอิมิได้เริ่มก่อเรื่องต่อสู้ เมาเหล้าอาละวาด และข่มขู่กรรโชกต่างๆ ในนครเกียวโต ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้กลุ่มชินเซ็นงุมิเสื่อมเสียชื่อเสียง จนกระทั่งมีคนตั้งฉายาในทางลบให้กับกลุ่มว่า "ฝูงหมาป่าแห่งมิบุ" ({{nihongo|壬生狼|miburō|มิบุโร}}) ฮิจิคะทะพบหลักฐานการก่อเรื่องของนิอิมิมากพอและได้สั่งให้นิอิมิ[[เซ็ปปุกุ|คว้านท้องตนเอง]] หลังจากนั้นไม่นานเซะริซะวะและสมาชิกที่อยู่ฝ่ายเขาได้ถูกลอบสังหาร คนโดได้ขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่มชินเซ็งงุมิแต่เพียงผู้เดียว โดยมีฮิจิคะทะและ[[ยะมะนะมิ เคสุเกะ]] เป็นรองหัวหน้ากลุ่ม
 
กลุ่มชินเซ็งงุมิมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 140 คน ซึ่งนอกจากจะเป็น[[ซามูไร]]แล้วยังมีพ่อค้าและชาวนาจำนวนมากเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มด้วย เพราะเกรงว่าวิถีชีวิตของตนจะถูกคุกคามหากเกิดการล่มสาลยล่มสลายของรัฐบาลโชกุนขึ้น กลุ่มชินเซ็นเซ็งงุมิได้ออกกฎต่างๆ ในช่วงที่สถานการณ์ในเกียวโตตึงเครียด และฮิจะคะทะก็เป็นที่รู้จักจากการบังคับใช้กฎดังกล่าวอย่างเข้มงวด จนกลายเป็นที่มาแห่งสมญานาม "รองหัวหน้าปิศาจ" ({{ญี่ปุ่น|鬼の副長|oni no fukuchō|โอะนิ โนะ ฟุคุโจ|}}) แม้ในกลุ่มชินเซ็งงุมิเองก็มีการใช้กฏควบคุมวินัยของกลุ่มอันมีชื่อว่า "เคียคุจูฮัทโทะเคียวคุจูฮัทโทะ" ({{ญี่ปุ่น|局中法度||Kyokuchū Hatto|}}) โดยมีฮิจิคะทะเป็นผู้ควบคุมอย่างเคร่งครัด คนที่ละทิ้งกลุ่มหรือหักหลังกลุ่มจะต้องรับโทษคว้านท้องตัวเองเท่านั้น กฎดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้กับยะมะนิมิ เคสุเกะ (หนึ่งในเพื่อนเก่าของฮิจิคะทะ) เพราะเขาได้พยายามออกจากกลุ่มชินเซ็งงุมิในปี [[ค.ศ. 1865]]
 
ดาบคู่ใจของฮิจิคะทะคือ "อิซึมิโนะคะมิ คะเนะซะดะ" ([[:Ja:和泉守兼定|和泉守兼定]]) เป็นดาบที่ตีขึ้นในยุคเอะโดะโดยสุดยอดช่างตีดาบผู้มีชื่อเสียงในยุคนั้น อนึ่ง กล่าวกันว่าฮิจิคะทะยังเป็นผู้พัฒนาวิชาดาบอันเป็นแนวทางมาตรฐานการต่อสู้ของกลุ่มชินเซ็งงุมิอันมีชื่อว่า "ชินเซ็งงุมิเค็นจุทสึ" อีกด้วย