ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คอนสตันติน ซีออลคอฟสกี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: mn:Константин Циолковский
Jedimaster (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
[[ไฟล์:Chertrg Tsiolkovsky.jpg|thumb|แบบร่างจรวดลำแรกของซีออลคอฟสกี]]
 
'''คอนสแตนติน เอดูอาร์โดวิค ซีออลคอฟสกี หรือไซออลคอฟสกี''' ({{lang-en|Konstantin Eduardovich Tsiolkovsky}}; {{lang-ru|Константи́н Эдуа́рдович Циолко́вский}}; {{lang-pl|Konstanty Ciołkowski}}; [[17 กันยายน]] [[ค.ศ. 1857]] - [[19 กันยายน]] [[ค.ศ. 1935]]) เป็น[[นักวิทยาศาสตร์]]ในยุค[[จักรวรรดิรัสเซีย]] และนักวิทยาศาสตร์ด้านจรวดของ[[สหภาพโซเวียต]]และเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดทฤษฎีต่างๆ เกี่ยวกับศาสตร์ด้านวิศวกรรมอวกาศและการสำรวจอวกาศ เขาอาศัยอยู่และเป็นแรงบันดาลใจในบ้านต้นไม้บริเวณชานเมืองคาลูกา (Kaluga) ห่างจากกรุง[[มอสโก]]ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200การผลักดันโครงการสำรวจอวกาศของสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา กิโลเมตร
 
ซีออลคอฟสกีคิดค้นทฤษฎีมากมายเกี่ยวกับการเดินทางในอวกาศและการขับเคลื่อนด้วยไอพ่นของ[[จรวด]] เขาได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในสามของบิดาแห่งวิทยาการจรวดและการสำรวจอวกาศ เป็นคนแรกในโลกที่คิดเรื่องร่วมกับ[[ลิฟต์อวกาศ]]แฮร์มัน ซึ่งต่อมาเป็นแรงบันดาลใจให้แก่การสร้าง[[หอไอเฟลโอแบร์ธ]]ในกรุงและ[[ปารีสโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด]]เมื่อปี ค.ศ.แม้ทั้งสามคนนี้จะไม่เคยทำงานร่วมกัน 1895
 
เขายังเป็นสหายกับนักปรัชญาชื่อ [[นิโคไล เฟียโดรอฟ]] และมีความเชื่อเกี่ยวกับการขยายอาณานิคมมนุษย์ออกไปใน[[อวกาศ]] อันจะนำมาซึ่งความรุ่งเรืองและความสมบูรณ์แบบของมนุษยชาติ
 
==ชีวประวัติโดยสังเขป==
ซีออลคอฟสกีอาศัยอยู่ในบ้านต้นไม้บริเวณชานเมืองคาลูกา (Kaluga) ห่างจากกรุง[[มอสโก]]ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 200 กิโลเมตร ตอนอายุ 9 ขวบ เขาก็ป่วยเป็นโรค[[ไข้ดำแดง]] จนเขากลายเป็นคนที่มีปัญหาด้านการได้ยินในสภาพคนที่ใกล้[หูหนวก]] และด้วยสภาพนี้เขาจึงไม่ได้เข้าเรียนในระดับ[[ประถมศึกษา]] เพราะปัญหาการได้ยิน จึงต้องศึกษาด้วยตนเองตั้งแต่วัยเยาว์
 
การล้มเหลวในการเข้าศึกษาซีออลคอฟสกีก็ได้ใช้เวลา 3 ปี ในการศึกษาด้วยตนเองอยู่ในหอสมุด ซึ่งเขาก็ได้รู้จักกัยนักจักรวาลวิทยาอย่าง[[นิโคไลน์ เฟียโดลอฟ]]ที่ทำงานอยู่ที่นั่นด้วย
 
ภายหลังจากนั้นซีออลคอฟสกี้ก็มีความเชื่อว่า การตี้งอาณานิคมในอวกาศจะนำพาความสมบูรณ์แบบให้กับมวลมนุษยชาติ ความเป็นนิรันดร์และไร้ความกังวลด้านการคงอยู่ของเผ่าพันธุ์มนุษย์
 
ด้วยแรงบันดาลใจจากนิยายวิทยาศาสตร์ด้านการผจญภัยในอวกาศของจูลส์ เวิร์น ทำให้ซีออลคอฟสกีคิดค้นทฤษฎีมากมายเกี่ยวกับการเดินทางในอวกาศและระบบขับเคลื่อนด้วยไอพ่นของ[[จรวด]] เขาได้รับยกย่องเป็นหนึ่งในบิดาแห่งวิทยาการจรวดและการสำรวจอวกาศ เป็นคนแรกในโลกที่คิดเรื่อง[[ลิฟต์อวกาศ]] ซึ่งต่อมาเป็นแรงบันดาลใจให้แก่การสร้าง[[หอไอเฟล]]ในกรุง[[ปารีส]]เมื่อปี ค.ศ. 1895
 
ในช่วงปลายของชีวิต เขาทำงานเป็นครูสอน[[คณิตศาสตร์]]ในโรงเรียนมัธยมศึกษาทั้งที่ใกล้จะหูหนวก จนกระทั่งเกษียณอายุเมื่อปี ค.ศ. 1920 หลังจากกลางคริสต์ทศวรรษ 1920 ไปแล้ว ความสำคัญของผลงานของเขาจึงค่อยเป็นที่ยอมรับ และซีออลคอฟสกีก็ได้รับความยกย่องนับแต่นั้น หลังจากเขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 19 กันยายน ค.ศ. 1935 ที่เมืองคาลูกา ก็มีการจัดพิธีฝังศพอย่างสมเกียรติเป็นพิธีแห่งรัฐ
 
โดยที่หน้าป้ายหลุมศพของเขามีคำจารึกที่แสดงถึงความทะเยอทะยานของมนุษย์ไว้ว่า '''"มนุษย์ จะไม่อาศัยอยู่แต่บนโลกนี้ตลอดไป ความเย้ายวนใจจากแสงอาทิตย์และอากาศ จะชักจูงให้มนุษย์ฝ่าบรรยากาศออกไปได้ถึงห้วงอวกาศและเอาชนะจักรวาลได้ในที่สุด"'''
 
==การบรรลุผลเกี่ยวกับงานด้านวิทยาศาสตร์==
ในช่วงที่ซีออลคอฟสกีมีชีวิตอยู่ เขาได้ตีพิมพ์ผลงานมากถึง 88 ผลงานที่เกี่ยวกับการท่องอวกาศและหมวดอื่นๆที่เกี่ยวข้องกัน เช่น ระบบสเตียริงทรัสเตอร์, มัลติสเตจบูสเตอร์, [[สถานีอวกาศ]], ระบบแอร์ล็อกสำหรับการออกนอกยานอวกาศที่อยู่ในสภาวะสูญญากาศ, และระบบวงจรชีวภาพแบบปิดทีให้อาหารและออกซิเจนสำหรับอาณานิคมในอวกาศ
 
ซีออลคอฟสกี้ ได้ทำการศึกษาอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับทฤษฎีกลไกการเคลื่อนที่ของระบบไอพ่น ตลอดจนการใช้จรวดขับดันเปิดหนทางสู่การสำรวจอวกาศ ซึ่งในปี ค.ศ.1896 ไซออลคอฟสกี้ได้อธิบายทฤษฎีกลไกการเคลื่อนที่ของระบบไอพ่นเป็นสมการที่เรียกว่า "สมการการบิน", ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง:
 
* ความเร็วของจรวดในทุกๆชั่วขณะ (speed of a rocket at any moment)
* พลังงานขับดัน (specific impulse fuel)
* มวลของจรวดในเวลาตั้งต้นและเวลาสิ้นสุด (mass of the rocket in the initial and final time)
 
:<math>\delta V=I_0 \ln\left( {M_1\over M_0} \right) </math>
 
[[Image:TsiolkovskyCoin.jpg|thumb|1 รูเบิล, ปี ค.ศ. 1987]]
 
งานที่สำคัญที่สุดของเขาคือ The Exploration of Cosmic Space by Means of Reaction Devices (Russian: Исследование мировых пространств реактивными приборами) ได้ถูกตีพิมพ์ในปี ค.ศ.1903 ซึ่งซีออลคอฟสกีได้ทำการคำนวนด้วย[[สมการซีออลคอฟสกี]] ได้ข้อสรุปว่าความเร็วในการโคจรรอบโลกขั้นต่ำคือ 8,000 m/s (5 ไมล์ ต่อวินาที) นั้นสามารถทำได้ด้วย [[จรวดหลายระดับ]] (Multistage rocket) ที่บรรจุ[[ออกซิเจนเหลว]] และ [[ไฮโดรเจนเหลว]]
[[Image:Ciolkovskij2 vdnx sep2008.jpg|thumb|อนุสาวรีย์ซีออลคอฟสกีในกรุง[[มอสโคว]]]]
==การเชิดชูเกียรติ==
ซีออลคอฟสกี ถือเป็นบุคคลสำคัญของสหภาพโซเวียต โดยเขาได้รับเกียรติจากสหภาพโซเวียตด้วยการทำเหรียญเงิน 1 รูเบิลให้มีรูปและชื่อของเขา
 
== อนุสรณ์ ==