ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
F-4 เข้าประจำการครั้งแรกเมื่อปีพ.ศ.2503 แฟนทอมยังคงเป็นส่วนสำคัญของกองทัพสหรัฐฯ ตลอดจนทศวรรษที่ 1970 และ 1980 ด้วยการถูกแทนที่โดย[[เอฟ-15 อีเกิล]]และ[[เอฟ-16 ไฟท์ติ้งฟอลคอน]]ในกองทัพอากาศสหรัฐฯ ส่วนในกองทัพเรือสหรัฐฯ แทนที่ด้วย[[เอฟ-14 ทอมแคท]]และ[[เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท]] และ[[เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท]]ในกองนาวิกโยธิน ยังคงถูกใช้ทำหน้าที่ลาดตระเวนโดยสหรัฐฯ ใน[[สงครามอ่าว]]จนปลดประจำการในปีพ.ศ.2539<ref name="gulfp26"/><ref name="gulfvictoryp22"/> แฟนทอมยังถูกใช้โดยประเทศอื่นๆ อีก 11 ประเทศ [[อิสราเอล]]ได้ใช้แฟนทอมอย่างกว้างขวางในสงครามอาหรับ-อิสราเอล ในขณะที่[[อิหร่าน]]ใช้กองบินขนาดใหญ่ใน[[สงครามอิรัก-อิหร่าน]] แฟนทอมยังคงอยู่ในแนวหน้าของเจ็ดประเทศด้วยกัน และยังใช้เป็นเป้าหมายไร้คนขับของกองทัพอากาศสหรัฐฯ<ref name="Carrarap48"> Carrara 2006, p. 48.</ref>
 
การผลิตแฟนทอมเริ่มขึ้นจากปีพ.ศ. 2501-2524 พร้อมมีเครื่องบินทั้งสิ้น 5,195 ลำที่ผลิตออกมา<ref name="Phab40th"/> การผลิตมากขนาดนี้ ทำให้เป็นเครื่องบินไอพ่นที่ผลิตออกมามากที่สุดเป็นอันดับสองรองจาก[[เอฟ-86 เซเบอร์]]ที่สร้างออกมาเกือบ 10,000 ลำ
 
== คำอธิบาย ==
บรรทัด 25:
แม้ว่าจะมีมิติที่โอ่อ่าและน้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุดมากกว่า 27,000 กิโลกรัม<ref name="donald worldp268"> Donald and Lake 1996, p. 268.</ref> เอฟ-4 ก็ยังทำความเร็วสูงสุดได้ถึง 2.23 มัค และมีการไต่ระดับมากกว่า 41,000 ฟุตต่อนาที<ref name="USAF Fighters p198"> Dorr and Donald 1990, p. 198.</ref> ไม่นานหลังจากนำมาใช้งาน แฟนทอมก็ทำสถิติโลกไว้ 15 สถิติด้วยกัน<ref name="boeing phirsts">[http://www.boeing.com/defense-space/military/f4/firsts.htm Integrated Defense Systems: F-4 Phantoms Phabulous 40th - Phantom "Phirsts".] Boeing. Retrieved: 14 December 2007.</ref> ซึ่งรวมทั้งความเร็วสัมบูรณ์ที่ 2,585 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและความสูงสัมบูรณ์ที่ 98,557 ฟุต<ref name="boeing record">[http://www.boeing.com/defense-space/military/f4/bluebook/record.htm Integrated Defense Systems: F-4 Phantoms Phabulous 40th - World Record Holder.] Boeing. Retrieved: 14 December 2007.</ref> แม้ว่าจะเกิดขึ้นในปีพ.ศ.2502-2505 ทั้งห้าสถิติความเร็วก็ยังอยู่จนกระทั่งถึงปี พ.ศ.2518 เมื่อเอฟ-15 อีเกิล เข้าประจำการ<ref name="boeing phirsts"/>
 
[[ไฟล์:F-4 Phantom Blue Angels.jpg|thumb|left|เอฟ-4เจของ[[บลูแองเจิล]]ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2502-2517]]
เอฟ-4 สามารถบรรทุกอาวุธได้มากถึง 8,480 กิโลกรัม บนที่ตั้งเก้าตำบลรวมทั้งขีปนาวุธอากาศสู่อากาศทั้งที่นำและไม่นำวิถี และระเบิดนิวเคลียร์<ref name="F4D factsheet">[http://www.nationalmuseum.af.mil/factsheets/factsheet.asp?id=2276 McDonnell Douglas F-4D “Phantom II”.] National Museum of the USAF. Retrieved: 20 January 2008</ref> ตั้งแต่ที่[[เอฟ-8 ครูเซเดอร์]]ถูกใช้เพื่อการต่อสู้ระยะใกล้ เอฟ-4 จึงถูกออกแบบมาเหมือนกับเครื่องบินสกัดกั้นลำอื่นๆ คือไม่มีปืนใหญ่<ref>Angelucci 1987, p. 310.</ref> ในการต่อสู้ผู้ควบคุมเรดาร์หรือผู้ควบคุมระบบอาวุธ (มักเรียกว่าผู้นั่งหลังหรือแบ็คซีทเตอร์ (''backseater'')) จะช่วยในการหาตำแหน่งข้าศึกด้วยสายตาเช่นเดียวกันเรดาร์ แฟนทอมได้กลายมาเป็นเครื่องบินขับไล่โจมตีหลักทั้งของกองทัพเรือและกองทัพอากาศเมื่อจบ[[สงครามเวียดนาม]]
 
เนื่องมาจากรูปลักษณ์ที่โดดเด่นและการใช้งานอย่างแพร่หลายโดยกองทัพและพันธมิตรของสหรัฐฯ เอฟ-4 จึงเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ที่โด่งดังของ[[สงครามเย็น]] โดยทำหน้าที่ในเวียดนามและสงครามอาหรับ-อิสราเอล พร้อมกับนักบิน เอฟ-4 ของอเมริกาที่ได้ชัยชนะ 227 ครั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และการโจมตีภาคพื้นดินอีกนับไม่ถ้วน<ref>Angelucci 1987, p. 312.</ref>
 
[[ไฟล์:1997 F-4 Heritage Flight over Florida-edit 1.jpg|right|thumb|ขบวนของ เอฟ-4 แฟนทอม 2 ทำการบินสาธิตในวันครบรอบ 50 ปีกองทัพอากาศสหรัฐฯ]]
 
เอฟ-4 แฟนทอม ยังเป็นเครื่องบินขับไล่แบบสุดท้ายของอเมริกาที่ได้สถานะยอดเยี่ยมในศตวรรษที่ 20 ในสงครามเวียดนาม นักบินหนึ่งนายและผู้ควบคุมอาวุธสองนายจากกองทัพอากาศ<ref name="dorrp200-201"> Dorr and Bishop 1996, pp. 200–201.</ref> และนักบินหนึ่งนายและผู้ควบคุมเรดาร์หนึ่งนายจากกองทัพเรือ<ref name="Dorrp188-189"> Dorr and Bishop 1996, pp. 188–189.</ref>ได้ทำการรบทางอากาศที่ยอดเยี่ยม แฟนทอมยังสามารถทำหน้าที่ลาดตระเวนทางยุทธวิธีและทำการกดดันการป้องกันทางอากาศของศัตรู โดยได้ทำหน้าที่ในปีพ.ศ.2534 ใน[[สงครามอ่าว]]<ref name="gulfp26">Donald Spring 1991, p. 26.</ref><ref name="gulfvictoryp22">Donald Summer 1991, p. 22.</ref>
 
การทำงานของเครื่องบินขับไล่ชั้น 2 มัค พร้อมพิสัยไกลและขนาดบรรทุกเท่าเครื่องบินทิ้งระเบิด ได้กลายมาเป็นแม่แบบของเครื่องบินขับไล่รุ่นต่อๆ มา แฟนทอมได้ถูกแทนที่โดย[[เอฟ-15 อีเกิล]]และ[[เอฟ-16 ไฟท์ติ้งฟอลคอน]]ในกองทัพอากาศสหรัฐฯ ในกองทัพเรือนั้นมัน ถูกแทนที่โดย[[เอฟ-14 ทอมแคท]]และ[[เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท]] ฮอร์เน็ทนั้นได้รับหน้าที่เป็นเครื่องบินขับไล่สองบทบาท<ref>Donald, David. ''Warplanes of the Fleet''. London: AIRtime Publishing Inc., 2004. ISBN 1-880588-81-1.</ref>
 
== การออกแบบและการพัฒนา ==
บรรทัด 46:
แบบของแมคดอนเนลล์ได้ถูกทำใหม่ให้เป็นเครื่องบินขับไล่โจมตีทุกสภาพอากาศพร้อมที่ติดตั้งอาวุธ 11 ตำบล และในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2497 บริษัทฯ ได้รับจดหมายที่แสดงความสนใจต้นแบบวายเอเอช-1 สองลำ ในวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ.2498 นายทหารสี่นายจากกองทัพเรือได้มาถึงที่สำนักงานแมคดอนเนลล์ และภายในหนึ่งชั่วโมง พวกเขาได้แสดงความต้องการใหม่ทั้งหมดต่อบริษัทฯ เพราะว่ากองทัพเรือมีเครื่อง[[เอ-4 สกายฮอว์ค]]สำหรับการโจมตีภาคพื้นดิน และเอฟ-8 ครูเซเดอร์ สำหรับการต่อสู้ทางอากาศอยู่แล้ว โครงการจึงเปลี่ยนมาเพื่อเติมเต็มความต้องการเครื่องบินสกัดกั้นในทุกสภาพอากาศแทน โดยใช้ลูกเรือสองนายในการใช้เรดาร์ที่ทรงพลัง<ref name="swan navyp301"/>
 
=== ต้นแบบ เอ็กซ์เอฟ 4 เอช-1 ===
เอ็กซ์เอฟ 4 เอช-1 ถูกออกแบบมาเพื่อบรรทุกขีปนาวุธนำวิถีด้วยเรดาร์[[เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์|เอเอเอ็ม-เอ็น-6 สแปร์โรว์ 3]] และใช้เครื่องยนต์ เจ 79-จีอี-8 สองเครื่องยนต์ เช่นเดียวกับ[[เอฟ-101 วูดู]]ที่เครื่องยนต์อยู่ในระดับต่ำเพื่อเพิ่มความจุของเชื้อเพลิงและตักอากาศเข้าสู่ช่องรับลม ปีที่บางทำมุม 45° และติดตั้งระบบควบคุมสำหรับเพิ่มการควบคุมความเร็วในระดับต่ำ<ref name="quest for performance">Loftin, Laurence K. [http://www.hq.nasa.gov/pao/History/SP-468/cover.htm ''Quest for Performance: The Evolution of Modern Aircraft'',] SP-468. Washington, DC: National Aeronautics and Space Administration, History Office, Scientific and Technical Information Branch, 1985. Retrieved: 19 November 2007.</ref>
 
บรรทัด 52:
 
=== การตั้งชื่อ ===
ตอนแรกนั้นมีการเสนอชื่อให้ เอฟ 4 เอช เป็น"[[ซาตาน]]"และ"[[มิธราส]]"เทพแห่งแสงของเปอร์เซีย<ref> [http://www.kalaniosullivan.com/KunsanAB/OtherUnits/HowitwasbF4.html Kunsan Airbase F-4 Phantom II]</ref> สุดท้ายเครื่องบินก็ได้ชื่อ"แฟนทอม 2" แฟนทอมแรกนั้น คือ เครื่องบินไอพ่นอีกแบบของแมคดอนเนลล์คือเนลล์ คือ[[เอฟเอช แฟนทอม]] แฟนทอม 2 ถูกใช้ชื่อเอฟ-110 เอ และ"สเปกเตอร์"โดยกองทัพอากาศสหรัฐฯ ในระยะหนึ่ง แต่ก็ไม่ได้ใช้อย่างจริงจัง<ref>Angelucci 1987, p.316.</ref>
 
=== การทดสอบต้นแบบ ===
บรรทัด 103:
** อาวุธปล่อยอากาศสู่อากาศ [[AIM-4ฟัลคอน(Falcon)]] [[เอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์]] [[AIM-9ไซด์ไวน์เดอร์(Sidewinder)]]
** อาวุธปล่อยอากาศสู่พื้น [[AGM-45ไซรค์(Shrike)]] [[AGM-62วอลล์อาย(Walleye)]] บูลพับ(Bullpup)
** ลูก[[ระเบิดนิวเคลียร์]]แบบ บี-27,43,57,61 ลูกระเบิดทำลายแบบ เอ็มแอลยู-1ลูกระเบิดเพลิงแบบ บีแอลยู-1 27,52,76
** ลูกระเบิดพวง
** พลุส่องแสง
** กระเประกระเปาะจรวด กระเประกระเปาะต่อต้านข่าวกรองอีเล็คทรอนิคส์ กระเประกระเปาะบรรจุกล้องถ่ายภาพทางอากาศ
** ถังน้ำพ่นน้ำยาเคมี
* '''รวม'''น้ำหนักอาวุธ 7,250 กิโลกรัม ที่ใต้ลำตัว 5 ตำบล และ ใต้ปีกละ 2 ตำบล รวม 9 ตำบล
<ref name="เอฟ-4">อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน 1979 ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522</ref><ref name="quest for performance"/>
<gallery>
ภาพ:DSC 9308.jpg