ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระดูกอ่อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Amirobot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fa:غضروف ماهیان
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: frr:Graselfasker; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 13:
| subdivision_ranks = [[ชั้น (ชีววิทยา)|ชั้นย่อย]]
| subdivision = *[[Elasmobranchii]]
* [[Holocephali]]
}}
 
'''ปลากระดูกอ่อน''' ([[ชั้น (ชีววิทยา)|ชั้น]]: Chondrichthyes, {{lang-en|Cartilaginous Fish}}) เป็น[[ชั้น (ชีววิทยา)|ชั้น]]ของ[[ปลา]]จำพวกหนึ่ง ซึ่งมีโครงสร้างกระดูกประกอบไปด้วย[[เซลล์]][[กระดูกอ่อน]]อย่างเดียว โดยมีหินปูนมาประกอบเป็นบางส่วน ส่วนมากมีเหงือกแยกออกเป็นช่อง 5 ช่อง มีเกล็ดแบบพลาคอยด์ ที่จะไม่โตไปตามตัว มีลักษณะสากเมื่อสัมผัส ตัวผู้มีรยางค์เพศที่ครีบท้องเป็นติ่งยื่นเรียก แคลสเปอร์ หรือที่ใน[[ภาษาไทย]]เรียก เดือย โดยมากจะออกลูกเป็นตัว ขากรรไกรแยกออกจากกะโหลก ปลาจำพวกนี้พบทั่วโลกประมาณ 800 [[สปีชีส์|ชนิด]] เป็นปลากินเนื้อ ส่วนมากเป็นปลาทะเล ในน้ำจืดมีเพียงไม่กี่สิบชนิด มีหลายอันดับ หลาย[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] หลาย[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] โดยปลาในกลุ่มปลากระดูกอ่อนนี้ที่รู้จักกันดี ก็ได้แก่ ปลา[[ฉลาม]], [[ปลากระเบน]], ปลา[[ฉนาก]], ปลา[[โรนัน]] เป็นต้น
 
ปลากระดูกอ่อนส่วนใหญ่มีรูปร่างเรียวยาว ยกเว้น ปลากระเบน ที่มีรูปร่างแบน ส่วนใหญ่อยู่ใน[[ทะเล]] พบใน[[น้ำจืด]]เพียงไม่กี่ชนิด เช่น [[วงศ์ปลากระเบนหางสั้น|ปลากระเบนน้ำจืด]] มีขนาดแตกต่างกันตามแต่ละสกุล แต่ละชนิด ตั้งแต่มีความยาวเพียงไม่ถึงหนึ่ง[[ฟุต ]] จนถึง 20 เมตร หนักถึง 34 ตัน คือ [[ฉลามวาฬ]] (''Rhincodon typus'') ซึ่งเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในโลก
 
== การจัดจำแนก ==
บรรทัด 26:
* [[ฮอโลเซฟาโล]] ช่องเหงือกไม่เปิดออกสู่ภายนอกโดยตรง แต่ผ่านช่องปิดเหงือก ที่พัฒนามาจากขากรรไกรบน [[ขากรรไกร]]และฟันแข็งแรง ตัวอย่างเช่น [[ปลากระต่าย]]<ref>มนตรี แก้วเกิด. สัตววิทยา. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 2542</ref>
 
== ความแตกต่างระหว่างปลาในชั้นกระดูกอ่อนและชั้นกระดูกแข็ง ==
{|class="wikitable"
|- style="background:gray; color:white" align=center
บรรทัด 60:
|}<ref>[http://courseware.rmutl.ac.th/courses/107/unit1402.html มีนวิทยา: รหัสวิชา 03-041-104]</ref>
 
== ความเชื่อเรื่องการรักษาโรคมะเร็ง ==
ปัจจุบัน มี[[ความเชื่อ]]ว่า ปลากระดูกอ่อนนี้มิอาจป่วยเป็น[[โรคมะเร็ง]]ได้ เนื่องจากในเซลล์กระดูกอ่อนซึ่งเป็นองค์ประกอบใหญ่ของกระดูกในร่างกายนั้น มีสาร[[โปรตีน]]ที่ช่วยยับยั้งในการเกิด[[เซลล์มะเร็ง]] จึงมีการสกัดเซลล์กระดูกอ่อนจากปลากระดูกอ่อนโดยเฉพาะ ปลาฉลาม ผลิตเป็น[[ยา]]จำหน่ายโดยทั่วไป
 
บรรทัด 91:
[[fi:Rustokalat]]
[[fr:Chondrichthyes]]
[[frr:Graselfasker]]
[[he:דגי סחוס]]
[[hr:Hrskavičnjače]]