ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปมเอดิเพิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ทฤษฎีนี้ถูกคัดค้านและปฏิเสธจากนักจิตวิทยาหลายต่อหลายคน แต่ตัวฟรอยด์เองกลับเชื่อมั่น พร้อมกับทำการทดลองจนเผยแพร่ออกมาได้ในที่สุด
 
สืบจากทฤษฎีนี้ก็ได้ คาร์ล กุสตาฟ จุง ([[Carl Gustav Jung]])นักจิตวิเคราะห์อีกมีคนหนึ่งร่วมสมัยกับฟรอยด์ ได้พัฒนาอีกทฤษฎีหนึ่งที่เหมือนกับด้านกลับของปมเอดิเพิส และมุ่งศึกษาพัฒนาการทางจิตวิทยาจิตในเด็กหญิง เรียกว่า [[ปมอีเลกตรา]] (Electra complex) ที่เชื่อว่า เด็กหญิงจะรู้สึกชิงชิงแม่ของตัวเอง เพราะรู้สึกอิจฉาที่ตัวเองไม่มี[[องคชาติ]]เหมือนเด็กผู้ชาย ด้วยคิดว่าแม่เป็นฝ่ายเอาองคชาติของตนเองไป (ปมอีเลกตราได้ชื่อมาจากเทพปกีรณัมปกรณัมกรีกอีกเรื่องหนึ่ง (คือเรื่องของนางอีเลกตราซึ่งร่วมมือกับพี่ชายแท้ๆ ของตนเองวางแผนฆาตกรรมนางไคลเทมเนสตรา แม่แท้ๆ ของทั้งสอง เป็นการแก้แค้นที่ไคลเทมเนสตราทรยศและฆ่าอะกาเมมนอน พ่อของทั้งสองคน) แต่เช่นเดียวกันกับในเด็กชาย นักจิตวิทยาสำนักนี้เชื่อว่าปมดังกล่าวจะคลี่คลายไปเองเมื่อเด็กหญิงเติบโตขึ้นและสามารถยอมรับแม่ได้ อย่างไรก็ดี บุคคล (ทั้งหญิงและชาย) ที่มีปมเหล่านี้ฝังใจจนโตเป็นผู้ใหญ่ อาจจะมี[[อาการสับสนทางเพศ]]ได้<ref>[http://rama41.ob.tc/-View.php?N=322 Psychosexual development ของ Sigmund Freud]</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==