ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาเวสสันดรชาดก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้คำพิมพ์ผิด
บรรทัด 9:
 
=== กัณฑ์ทศพร ===
เริ่มตั้งแต่[[พระพุทธเจ้า]]ตรัสรู้ แล้วเสด็จไปเทศนาโปรด[[พระเจ้าพิมพิสาร]] ต่อจากนั้นเสด็จไปโปรดพุทธบิดาและพระประยูรญาติที่[[กรุงกบิลพัสดุ์]] เกิดฝนโบกขรพรรษ พระสงค์สาวกกราบทูลอาราธนาให้ทรงแสดงเรื่องมหาเวสสันดรชาดก เริ่มตั้งแต่เมื่อกัปที่ ๙๘ นับแต่ปัจจุบัน พระนางผุสดีซึ้งซึ่งจะทรงเป็นพระมารดาของพระเวสสันดร ทรงอธิษฐานขอเป็นมารดาของผู้มีใจบุญ จบลงตอนพระนางได้รับพร ๑๐ ประการจากพระอินทร์ อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ ผู้นั้นจะได้รับทรัพย์สมบัติดังปรารถนา ถ้าเป็นสตรีจะได้สามีที่เป็นที่ชอบเนื้อเจริญใจ บุรุษจะได้ภรรยาเป็นที่ต้องประสงค์อีกเช่นเดียวกันจะได้บุตรหญิงชายเป็นคนว่านอนสอนง่าย มีรูปร่างที่งดงาม มีความประพฤติดีกริยาเรียบร้อย
 
=== กัณฑ์หิมพานต์ ===
บรรทัด 18:
 
=== กัณฑ์วนปเวสน์ ===
พระเวสสันดรทรงพาพระนางมัทรีและพระชาลี ( โอรส ) พระกัณหา (ธิดา ) เสด็จจากเมืองผ่านแคว้น เจตราษฎร์ จนเสด็จถึงเขาวงกตในป่าหิมพานต์ อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะได้รับความสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้าจะได้เป็นบรมกษัตริย์ในชมพูทวีป เป็นผู้ทรงปรีชาเฉลียวฉลาดสามารถปราบอริราชศัตรูให้ย่อยยับไป
 
=== กัณฑ์ชูชก ===
[[ชูชก]]พราหมณ์ ขอทานได้นางอมิตตาบุตรสาวของเพื่อนเป็นภรรยา นางใช้ให้ชูชกไปของขอสองกุมาร ชูชกเดินทางไปสืบข่าวในแคว้นสีวีราษฎร์ สามารถหลบหลีกการทำร้ายของชาวเมือง พบพรานเจตบุตรลวงพรานเจตบุตรให้บอกทางไปยังเขาวงกต อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะได้บังเกิดในตระกูลกษัตริย์ ประกอบด้วยสมบัติอันงดงามกว่าคนทั้งหลาย จะเจรจาปราศรัยก็ไพเราะเสนาะโสต แม้จะได้สามีภรรยา และบุตรธิดาก็ล้วนแต่มีรูปทรงงดงามสอนง่าย
 
=== กัณฑ์จุลพน ===
บรรทัด 27:
 
=== กัณฑ์มหาพน ===
ชูชกลวงอัจจุตฤๅษี ให้บอกทางผ่านป่าไม้ใหญ่ไปยังที่ประทับของพระเวสสันดร อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะเสวยสมบัติใดในดาวดึงส์เทวโลกนั้นแล้ว จะได้ลงมาเกิดเป็นกษัตริย์มหาศาล มีทรัพย์ศฤงคารบริวารมากมี อุทยานและสระโบกขรณีที่เป็นประพาส เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยด้วยศักดานุภาพเฟื่องฟุ้งไปทั่วชมพูทวีป อีกทั้งจักได้เสวยอาหารทิพย์เป็นนิตย์นิรันดร
 
=== กัณฑ์กุมาร ===
ชูชกทูลขอสองกุมาร ทุบตีสองกุมารเฉพาะพระพักตร์พระเวสสันดร แล้วพาออกเดินทาง อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ ย่อมประสบผลสำเร็จในสิ่งที่ปรารถนา ครั้นตายไปแล้วได้เกิดในฉกามาพจรสวรรค์ในสมัยที่พระศรีอาริยาเมตไตรมาอุบัติก็จะได้พบศาสนาของพระองค์ จะได้ถือปฏิสนธิในตระกูลกษัตริย์ ตลอดจนได้สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาของพระองค์ แล้วบรรลุพระอรหัตตผลพร้อมด้วยปฏิสัมภิทาทั้ง ๔ ด้วยบุญราศีที่ได้อบรมไว้
 
=== กัณฑ์มัทรี ===
บรรทัด 36:
 
=== กัณฑ์สักกบรรพ ===
พระอินทร์พระเกรงว่าจะมีผู้มาขอพระนางมัทรีมัทรี จึงแปลงเป็นพราหมณ์ชรามาทูลขอพระนางมัทรีแล้วฝากไว้กับพระเวสสันดร อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะเป็นผู้ที่เจริญด้วยลาภยศตลอดจนจตุรพิธพรทั้ง ๔ คืออายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดกาล
 
=== กัณฑ์มหาราช ===
ชูชกเดินทางเข้าไปแคว้นสีวีราษฎร์ พระเจ้ากรุงสญชัย ทรงไถ่สองกุมาร ชูชกได้รับพระราชทานเลี้ยง และ ถึงแก่กรรมด้วยกินอาหารมากเกินควร อานิสงส์ของผู้บูชากัณฑ์นี้คือ จะได้มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติเมื่อเกิดเป็นมนุษย์จะได้เป็นพระราชาเมื่อจากโลกมนุษย์ไปก็จะไปเสวยทิพยสมบัติ ในฉกามาพจรสวรรค์มีนางเทพอัปสรเป็นบริวาร ครั้นบารมีแก่กล้าก็จะได้นิพพานสมบัติอันตัดเสียซึ้งซึ่งชาติ ชรา พยาพยาธิ มรณะ พ้นจากโอฆะทั้งสามมีกาโมฆะ เป็นต้น
 
=== กัณฑ์ฉกษัตริย์ ===
บรรทัด 48:
 
== การดัดแปลงในสื่อต่างๆ ==
เรื่องมหาเวสสันดรชาดก ถูกนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชา[[พระพุทธศาสนา]] อีกทั้งมีการสร้างเป็นเทป[[ละครโทรทัศน์]] [[ภาพยนตร์]] และ [[สารคดี]] เพื่อเผยแพร่แก่ประชาชนมานับครั้งไม่ถ้วน โดยเฉพาะละครโทรทัศน์ฉบับปี [[พ.ศ. 2530|พ.ศ. ๒๕๓๐]] ซึ่งสร้างโดย [[มูลนิธิแผ่นดินธรรม]] เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา ของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] ออกอากาศครั้งแรกทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] ใน[[วันเสาร์]]และ[[วันอาทิตย์]] เวลา ๑๘.๓๐ - ๑๙.๓๐ น. ตั้งแต่วันที่ ๖ [[ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2529|พ.ศ. ๒๕๒๙]] ถึง ๑๔ [[กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2530|พ.ศ. ๒๕๓๐]] จำนวนทั้งสิ้น ๑๘ ตอน ตอนละ ๔๕ นาที นำแสดงโดย [[ปกรณ์ พรพิสุทธิ์]] รับบทเป็น พระเวสสันดร, [[สราลี กิติยากร|ม.ล. สราลี กิติยากร]] เป็น พระนางมัทรี, [[ไพโรจน์ ใจสิงห์]] เป็น พระเจ้ากรุงสญชัยสัญชัย, [[ส.อาสนจินดา]] เป็น อัจจุตฤๅษี, [[เสรี หวังในธรรม]] เป็น ชูชก, [[ตุ๊กติ๊ก จินดานุช]] เป็น กัณหา, [[พศิน เรืองวุฒิ|เอราวัต เรืองวุฒิ]] เป็น ชาลี และนักแสดงกิตติมศักดิ์ [[หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์|ม.ร.ว. ถนัดศรี สวัสดิวัตน์]] กำกับการแสดงโดย [[ชาติ รอบกิจ]]
นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2539หลังจบละคร[[มณีนพเก้า]]สามเศียรได้ผลิตละครชื่อว่า[[กัณหาชาลี]]ซึ่งเป็นเนื้อเรื่องเดียวกัน