ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูดคุย:บรรณานุกรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boboverlord (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ประวัติกีฬาวอลเลย์บอล บอลเล่บอล
ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลนอกประเทศ
 
กีฬาวอลเลย์บอลเริ่มขึ้นเมื่อปี ค.ศ. ๑๘๙๕ โดยนายวิลเลียม จี มอร์แกน (William G. Morgan)
== อ่า ==
ผู้อำนวยการฝ่ายพลศึกษาของสมาคม Y.M.C.A. (Young Men's Christian Association) เมืองฮอลโยค
อ่า พูดอย่างจริงใจนะครับ รอให้มีหัวข้อเรื่องการเขียนบรรณานุึกรมจากเว็บไซต์ก่อน แล้วผมค่อยใส่แหล่งอ้างอิงให้ถูกวิธี
(Holyoke) มลรัฐแมสซาซูเซตส์ (Massachusetts) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้คิดเกมการเล่นขึ้น
เนื่องจากในฤดูหนาวหิมะตกลงมา ผู้คนทั่วไปไม่สามารถเล่นกีฬากลางแจ้งได้ เขาได้พยายามคิดและดัดแปลง
กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นกิจกรรมที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือผ่อนคลายความตึงเครียดขณะที่พักผ่อนหย่อนใจ
หรือผ่อนคลายความตึงเครียดขณะที่เขาดูการแข่งขันเทนนิส เขาได้เกิดแนวความคิดที่จะนำลักษณะและวิธีการ
เล่นของกีฬาเทนนิสมาดัดแปลงใช้เล่น จึงใช้ตาข่ายเทนนิสซึ่งระหว่างเสาโรงยิมเนเซียม สูงจากพื้นประมาณ
๖ ฟุต ๖ นิ้ว และใช้บางในของลูกบาสเกตบอลสูบลมให้แน่น แล้วใช้มือและแขนตีโต้ข้ามตาข่ายกันไปมา
แต่เนื่องจากยางในของลูกบาสเกตบอลเบาเกินไป ทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่ช้าและทิศทางที่เคลื่อนไปไม่แน่นอน
จึงเปลี่ยนมาใช้ลูกบาสเกตบอล แต่ลูกบาสเกตบอลใหญ่ หนักและแข็งเกินไปทำให้มือของผู้เล่นได้รับบาดเจ็บ
ในที่สุดเขาจึงให้บริษัท A.G. Spalding and Brother Company ผลิตลูกบอลที่หุ้มด้วยหนังและบุด้วย
ยาง มีเส้นรอบวง ๒๕-๒๗ นิ้ว มีน้ำหนัก ๘-๑๒ ออนซ์ หลังจากทดลองเล่นแล้ว เขาจึงตั้งชื่อเกมการเล่นนี้ว่า
"มินโตเนต" (Mintonette)
 
ปี ค.ศ.๑๘๙๖ มีการประชุมสัมมนาผู้นำทางพลศึกษาที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ (Spring-field College)
http://www.dek-d.com/board/view.php?id=657681
นายวิลเลียม จี มอร์แกน ได้สาธิตวิธีการเล่นต่อหน้าที่ประชุมซึ่งศาสตราจารย์ อัลเฟรด ที เฮลสเตด (Alfred T.
Helstead) ได้เสนอแนะให้มอร์แกนเปลี่ยนจากมินโตเนต (Mintonette) เป็น "วอลเลย์บอล" (Volleyball)
โดยให้ความเห็นว่าเป็นวิธีการเล่นโต้ลูบอลให้ลอยข้ามตาข่ายไปมาในอากาศ โดยผู้เล่นพยายามไม่ให้ลูกบอล
ตกพื้นต่อมากีฬาวอลเลย์บอลได้แพร่หลายและเป็นที่นิยมเล่นกันในหมู่ประชาชนชาวอเมริกันเป็นอย่างมาก
เพราะเป็นเกมที่เล่นง่าย สามารถเล่นได้ตามชายทุ่ง ชายหาด และตามค่ายพักแรมทั่วไป
 
กำลังศึกษาอยู่งะ
 
ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศ
--[[ผู้ใช้:Boboverlord|Boboverlord]] 01:34, 21 มิถุนายน 2551 (ICT)
 
กีฬาวอลเลย์บอลได้แพร่เข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อใด ไม่มีหลักฐานแน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าชาวไทย
บางกลุ่มได้เริ่มเล่นและแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลมาตั้งแต่หลังสมัยสงครามโลก ครั้งที่ ๒ เป็นต้นมา ปี พ.ศ.๒๔๗๗
กรมพลศึกษาได้จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประจำปี และบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ ในรายการแข่งขันเป็นครั้งแรก
โดยใช้กติกาการเล่นระบบ ๙ คน และตั้งแต่นั้นกีฬาวอลเลย์บอลก็พัฒนาขึ้น โดยตลอด จนกระทั่งเมื่อวันที่
๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๐ ได้มีการจัดตั้งสมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย
(Amature Volleyball Association of Thailand) ขึ้น ปัจจุบันกีฬาวอลเลย์บอลได้นิยมเล่นกันอย่าง
แพร่หลายทั้งในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย และ ตามหน่วยงานต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีการจัดการแข่งขัน
มากมายหลายรายการเป็นประจำทุกปี ดยการดำเนินงานของสมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่งประเทศไทยและ
หน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี
 
เรื่องของเรื่องคือ... ก็ต่างข้างต่างพูดอ่ะครับ ผมเองก็ไม่ทราบว่าอันที่จริงมันคืออะไรกันแน่ ก็ยึดมาตามที่เรียนรู้มา ซึ่งก็ต่างกันเล็กน้อย ผมใช้วิธี '''ตัวหนา''' ส่วนที่เขียนกันในวิกิคือ ''ตัวเอน'' และในเด็กดีคือ <u>ขีดเส้นใต้</u> --[[คุยกับผู้ใช้:Thanyakij|Lv.96 塔佤拉伾基]] [[ผู้ใช้:Thanyakij|•]][[ภาพ:WikiBotany tap.png]] 01:48, 21 มิถุนายน 2551 (ICT)
 
อ้อ อันนั้นเดี๋ยวผมคงต้องเอาตำราอื่นมาเปรียบเทียบ และจะต้องใช้หลักบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ จึงจะดีที่สุด ตอนนี้ผมใช้ของอันอื่นยืนพื้นไปก่อน ดีกว่าไม่มีอะไรเลย
 
 
--[[ผู้ใช้:Boboverlord|Boboverlord]] 01:56, 21 มิถุนายน 2551 (ICT)
 
 
 
 
 
ขนาดของสนาม
ขนาดของสนามแข่งขัน เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 18 เมตร * 9 เมตร ล้อมรอบด้วยบริเวณเขต
รอบสนามอย่างน้อย 2 เมตร (สนามกลางแจ้งต้องมีบริเวณรอบสนามอย่างน้อย 3 เมตร) และไม่มี
สิ่งกีดขวางใด ๆ ความสูงจากพื้นสนามขึ้นไปไม่น้อยกว่า 7 เมตรการแข่งขันระหว่างชาติ เขตรอบ
สนามต้องไม่น้อยกว่า 5 เมตร
พื้นสนาม
พื้นสนามเรียบและเป็นพื้นราบ พื้นสนามต้องไม่ทำด้วยสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่นและไม่อนุญาต
ให้ใช้พื้นสนามขรุขระ เปียก หรือลื่น เช่น ซีเมนต์ หญ้า ฯลฯ สนามแข่งขันในร่มต้องมีพื้นสีเขียว เป็นสี
อ่อนและสีสว่าง สนามกลางแจ้งอนุญาตให้มีความลาดเอียงได้ไม่เกิน 5 มิลลิเมตร และห้ามใช้สนามที่ทำ
ด้วยโลหะหรือของแข็งอื่น ในการแข่งขันระหว่างชาติอนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะพื้นสนามเป็นพื้นไม้หรือ
สังเคราะห์อื่น ๆ สำหรับพื้นลักษณะอื่น ๆ ต้องได้รับการรองรับจากสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ
(ไอ.วี.บี.เอฟ) เส้นสนามต้องมีสีที่แตกต่างจากพื้นสนามการแข่งขันและบริเวณเขตรอบสนาม
เส้นสนาม
เส้นทุกเส้นกว้าง 5 เซนติเมตร มีสีอ่อนและแตกต่างจากพื้นสนาม เส้นข้างสองเส้นและเส้นหลังสองเส้น
เป็นเส้นกำหนดเขตสนามแข่งขันรวมอยู่ในสนามแข่งขันขนาด 18 เมตร * 9 เมตรด้วย
เส้นแบ่งแดน แบ่งสนามแข่งขันออกเป็นสองส่วนเท่า ๆ กัน เส้นนี้อยู่ใต้ตาข่ายโดยลากจากเส้นด้าน
หนึ่งไปสู่เส้นข้างอีกด้านหนึ่ง
เขตรุก ลากเส้นขนานกับจุดกึ่งกลางของเส้นแบ่งแดนไปบรรจบกับเส้นทั้งสองเส้น เส้นเขตรุกและ
เขตรับ ของทั้งสองฝ่ายนี้สมมติว่ามีความยาวออกไปโดยไม่มีกำหนด
เขตเสิร์ฟ จากเส้นยาว 15 เซนติเมตร สองเส้นจากปลายสุดของสนาม โดยเขียนให้ห่างจากเส้นหลัง
20 เซนติเมตร ซึงเขียนจากปลายเสนข้างด้านข้างหนึ่งเส้น และเข้าไปทางซ้ายระยะห่างกัน 3 เมตร อีกหนึ่งเส้น
ตาข่าย (Net)
ตาข่าย ทำด้วยวัสดุสีดำ ตาขาองตาข่ายเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาวด้านละ 10 เซนติเมตร ตาข่ายมีขนาด
กว้าง 1 เมตร ยาว 9.5 เมตร ที่ขอบบนตาข่ายมีแถบสีขาวกว้าง 5 เซนติเมตร เย็บติดตลอดความยาวของ
ตาข่าย และมีเชือกร้อยผ่านชายล่างสุดของตาข่ายและผูกกับเสาทั้งสองข้างเพื่อทำให้ตาข่ายตึง
ความสูง ของตาข่ายสำหรับชายสูง 2.43 เมตร และสำหรับหญิงสูง 2.24 เมตร
แถบข้าง ใช้แถบสีขาวกว้าง 5 เซนติเมตร ยาว 1 เมตน ติดที่ปลายตาข่ายแต่ละด้านตั้งได้ฉาก
กับเส้นแบ่งแดน แถบข้างนี้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของตาข่าย
เสาอากาศ ทำด้วยหลอดใยแก้วหรือวัสดุอื่นที่คล้ายกันมีความยาว 1.8 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 10
มิลลิเมตร ทาสีขาวและสีแดงสลับกันเป็นช่วง ๆ ช่วงละ 10 เซนติเมตร เสาอากาศมี 2 ต้น แต่ละต้น
ผูกติดที่ขอบนอกสุดแถบข้างแต่ละด้าน โดยให้ยื่นเหนือตาข่ายขึ้นไป 80 เซนติเมตร เสาอากาศถือ
เป็นส่วนหนึ่งของตาข่ายและเขตจำกัดของด้านข้าง
เสาขึงตาข่าย (Poles)
เสาขึงตาข่ายทั้งสองเส้นควรจะมีลักษณะกลมและเรียบสามารถปรับระดับความสูงได้ 2.25 เมตร เสาขึง
ตาข่ายต้องยึดติดอยู่กับพื้นสนาม และอยู่ห่างเส้นข้างระหว่าง 50 - 100 เซนติเมตร
ลูกบอล (Ball)
ลูกบอลต้องมีลักษณะทรงกลมทำด้วยหนังอกที่ยืดหยุ่นได้ มียางในทำด้วยยางหรือวัสดุที่คล้ายคลึงกัน
สีต้องเป็นไปตามแบบและมีสีอ่อน เส้นรอบวงระหว่าง 65 - 67 เซนติเมตร น้ำหนัก ระหว่าง 260 - 270
กรัม แรงกัดระหว่าง 0.40 - 0.45 กก. / ตร.ซม.
 
 
 
 
 
 
 
 
• ประโยชน์ของการเล่นวอลเลย์บอล
 
๑. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ฝึกหัดเล่นให้เป็นได้ง่ายและเล่นได้ทุกเพศทุกวัย เมื่อเล่นวอลเลย์บอลเป็นแล้ว จะทำให้ผู้เล่นสามารถเล่นกีฬาได้นานกว่ากีฬาบางประเภท ซึ่งคุ้มกับที่ได้ฝึกฝนมาแม้แต่สตรีที่มีบุตร
แล้วหากมีร่างกายแข็งแรงก็สามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้เป็นอย่างดี
 
๒. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาประเภททีม จึงต้องมีการฝึกซ้อมเพื่อให้การเล่นในทีมมีความสัมพันธ์และรักใคร่ปรองดองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หากทีมใดขาดความสามัคคีแล้ว เมื่อลงแข่งขันย่อมจะมีชัยชนะได้ยาก ผลของการเล่นกีฬาประเภทนี้จึงสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ให้มีนิสัยรักใคร่สามัคคีกันระหว่าง
หมู่คณะมากยิ่งขึ้น
 
๓. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ช่วยฝึกฝนให้ผู้เล่นมีไหวพริบที่ชาญฉลาดและแก้ปัญหาอย่างฉับพลันทันที เพราะการเล่นวอลเลย์บอลนั้นผู้เล่นจะต้องเคลื่อนไหวร่างกายอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งต้องมีไหวพริบที่ดีสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่าง ๆ ได้จึงจะทำให้มีชัยชนะในการเล่น
 
๔. การเล่นวอลเลย์บอลเป็นการส่งเสริมและฝึกให้ผู้เล่นมีจิตใจเยือกเย็น สุขุม รอบคอบ อารมณ์มั่นคง มีสมาธิดี มีความเชื่อมั่นในตัวเอง เพราะผู้เล่นที่อารมณ์ร้อน มุทะลุ ดุดัน เอาแต่ใจตนเอง จะทำให้การเล่นผิดพลาดบ่อย ๆ ถ้าเป็นการแข่งขันก็จะแพ้ฝ่ายตรงข้ามได้ง่าย ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้ล้วนแต่มีประโยชน์ต่อตัวผู้เล่นวอลเลย์บอล
ที่จะนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเองและสังคมอีกด้วย
 
๕. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่เล่นได้โดยไม่จำกัดเวลา ถ้าหากผู้เล่นรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งอาจ
จะเล่นตอนเช้า สาย บ่าย เย็นหรือแม้แต่ในเวลากลางคืนก็ได้ถ้ามีแสงสว่างเพียงพอ และเล่นได้ทั้งในที่ร่ม
หรือกลางแจ้ง
 
๖. การเล่นวอลเลย์บอล ผู้เล่นต่างก็อยู่ในแดนของตนเองและมีตาข่ายขึงกั้นกลางสนาม ทำให้ไม่มีโอกาสที่จะปะทะกันระหว่างผู้เล่นทั้งสองฝ่าย จึงไม่ก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้น
 
๗. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่ช่วยส่งเสริมบุคลิกภาพของผู้เล่นอย่างหนึ่ง เพราะผู้เล่นจะต้องถูกฝึกให้มีระเบียบ
มีวินัย มีเหตุมีผล รู้จักการเป็นผู้นำผู้ตาม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นการปลูกฝังนิสัยอันมีผลที่จะนำมาใช้ในชีวิตประจำวันด้วย
 
๘. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาที่มีกฎกติกา ผู้เล่นต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎกติกาการเล่น ดังนั้นการเล่นวอลเลย์บอล
ย่อมช่วยสอนให้ผู้เล่นรู้จักความยุติธรรม มีความอดทนอดกลั้น รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น
 
๙. วอลเลย์บอลเป็นกีฬาประเภทหนึ่ง ที่ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพทางด้านร่างกายให้มีความสมบูรณ์ แข็งแรง เพราะผู้เล่นจะต้องฝึกให้ร่างกายแข็งแรง มีความอดทน มีความคล่องแคล่วว่องไว มีพลังและความเร็ว เมื่อร่างกายได้ออกกำลังกายแล้วยังช่วยให้ระบบต่างๆ ภายในร่างกายได้ทำงานประสานสัมพันธ์กัน
เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เมื่อร่างกายแข็งแรงก็จะช่วยเพิ่มความสามารถ
ของร่างกายให้มีความต้านทานได้ดีด้วย
 
๑๐. กีฬาวอลเลย์บอลเหมือนกับกีฬาประเภทอื่น ๆ ที่สร้างความมีน้ำใจนักกีฬา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การรู้จักแพ้
ชนะและอภัย นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือในการเป็นสื่อกลางก่อให้เกิดความสนิทสนมคุ้นเคยและมีสัมพันธ
์ไมตรีอันดีต่อกัน ทั้งระหว่างภายในประเทศและระหว่างประเทศได้อย่างดี
 
๑๑. ปัจจุบันผู้เล่นวอลเลย์บอลที่มีความสามารถสูง ยังมีสิทธิ์ได้เข้ามาศึกษาต่อในระดับสูงบางสาขา บางสถาบัน ทั้งสถานการศึกษาของรัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังมีหลายหน่วยงานทารับบุคคลที่เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลเข้าทำงาน เพราะวอลเลย์บอลกำลังเป็นกีฬาที่นิยมของวงการทั่วไปและมีการแข่งขันกันอยู่เป็นประจำ
 
สรุปกติกาโดยทั่วไป
๑. ถ้าลูกบอลทำให้ตาข่ายฉีกขาดหรือทำให้ตาข่ายหลุด ให้ยกเลิกการเล่นลูกนั้นและให้เริ่มเล่นใหม่
๒. ผู้ที่รับลูกเสิร์ฟจากฝ่ายตรงข้าม จะทำการสกัดกั้นหรือตบลูกบอลไม่ได้
๓. แต่ละทีมจะขอเวลานอกได้ ๒ ครั้งต่อเซต
๔. เมื่อลูกบอลพุ่งไปถูกตาข่ายและเป็นเหตุให้ตาข่ายไปถูกฝ่ายตรงข้ามถือว่าไม่ผิดกติกา
๕. ผู้เล่นถูกตาข่าย ในกรณีที่มีการเล่นลูกในแถวหน้า ถือว่าผิดกติกา
๖. ผู้เล่นถูกลูกบอลในแดนของฝ่ายตรงข้าม ก่อนหรือระหว่างการเล่นลูกบอลของฝ่ายตรงข้ามถือว่าผิดกติกา
๗. การเล่นลูกบอลคนเดียวติดต่อกันสองครั้ง เช่น ตั้งลูกเองแล้วตบลูกบอล ถือว่ผิดกติกา
๘. หากฝ่ายรับบล็อกลูกบอลกลับไปถูกศีรษะของผู้ที่ตบลูกบอลมา แล้วลูกบอลเคลื่อนไปถูกเสาอากาศ ลักษณะนี้ถือว่าฝ่ายตบทำลูกบอลออกเพราะลูกบอลถูกเสาอากาศแล้ว
๙. ลูกบอลที่ข้ามแนวตาข่ายไปยังเขตรอบสนามของทีมตรงข้ามแล้ว โดยบางส่วนหรือทุกส่วนของลูกบอล
อยู่ภายนอกพื้นที่สำหรับข้ามตาข่าย อาจนำกลับมาเล่นได้อีก ถ้าผู้เล่นไม่ถูกด้านเดียวกันสนาม ฝ่ายตรงข้าม
จะกีดขวางการเล่นลูกนี้ไม่ได้
๑๐. ในเซตตัดสิน ทีมใดทำคะแนนได้ ๘ คะแนน ให้ทำการเปลี่ยนแดนทันที และตำแหน่งของผู้เล่นให้เป็นไปเหมือนเดิม
 
 
 
มารยาทในการเป็นผู้เล่นที่ดี
1. มีความโอบอ้อมอารีต่อเพื่อนร่วมทีม
2. มีความสำนึกในหน้าที่ของนักกีฬา
3. เป็นผู้รู้จักแพ้ รู้ชนะ รู้อภัย
4. เป็นผู้ที่ยอมรับในฝีมือของเพื่อนร่วมทีม
5. เชื่อฟังคำสั่งสอนและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
6. รู้ เข้าใจและปฏิบัติตามกติกาอย่างแท้จริง
7. เชื่อฟังคำตัดสินของกรรมการ
8. ไม่แสดงกริยาวาจาที่ไม่สุภาพต่อผู้ตัดสิน
9. ไม่เป็นผู้ที่มีอคติต่อผู้อื่น ไม่ว่าใครก็ตาม
10. เป็นผู้ที่เสียสละ เปิดโอกาสให้คนอื่นแสดงความสามารถในโอกาสอันควร
11. มีความอดกลั้น อดทน สามารถระงับอารมณ์ได้เป็นอย่างดี
12. ให้เกียรติเพื่อนร่วมทีมและคู่แข่งขัน
 
มารยาทในการเป็นผู้ดูที่ดี
1. ปรบมือแสดงความยินดีต่อผู้แข่งขัน
2. ให้กำลังใจกับคู่แข่งขันทั้งสองฝ่าย
3. รู้แพ้ รู้ชนะ เมื่อทีมตนเองที่เชียร์แพ้ก็ไม่ควรเสียใจมากเกินไป
4. ไม่กล่าววาจาหรือแสดงกิริยาเย้ยหยันผู้แข่งขันและเจ้าหน้าที่ด้วยประการทั้งปวง
5. ไม่บังควรกล่าววาจาสนับสนุนผู้เล่นในทางที่ผิด
6. ไม่รบกวนผู้เล่นหรือกรรมการผู้ตัดสิน
7. ไม่ยุแหย่ให้เกิดความแตกแยกในระหว่างผู้เล่นหรือผู้เล่นกับผู้ดู
8. ยอมรับคำตัดสินของกรรมการไม่โต้แย้งหรือต่อต้าน
 
 
 
 
 
 
 
ทักษะการเล่นวอลเลย์บอล
เทคนิคการกระโดด
1. ลักษณะการยืนหากผู้เล่นถนัดตบบอลด้วยมือข้างใด ก็ให้วางเท้าข้างนั้นอยู่หน้าเท้าอีกข้างหนึ่ง โดยถ่ายน้ำหนักตัวไปด้านหน้า แขนข้างที่ใช้ตบบอลอยู่ด้านหลัง การจัดท่าทางลักษณะนี้ ช่วยในการกระโดดให้มีประสิทธิภาพ ( ดูClipประกอบ )
 
2. จังหวะการก้าวเท้าในการกระโดดผู้เล่นอาจใช้จังหวะการก้าวเท้าสำหรับกระโดดเพียง 2 หรือ 3 ก้าวก็ได้แล้วแต่ความถนัดส่วนบุคคล การก้าวเท้าควรรักษาจังหวะให้ช้า ๆ และเป็นก้าวที่ยาวเพื่อที่จะสามารถกระโดดได้ ถึงแม้ว่าบอลนั้นจะลอยมาไม่ถูกทิศทาง
 
3. จังหวะการกระโดดหลังจากที่ก้าวเท้าเพื่อทำการกระโดดแล้ว ในจังหวะที่กระโดดนั้นเป็นจุดสำคัญของเทคนิคนี้คือ จะต้องมีพลังเพื่อทำการลอยตัวขึ้นจากพื้น การสร้างพลังส่ง หรือพลังระเบิดในการกระโดดนั้นเกิดจาก 3 ลักษณะคือ- การเหวี่ยงแขน- การย่อตัว- การส่งแรงจากเท้าสู่ลำตัว
 
ขั้นตอนและจังหวะในการกระโดด ( ดูClipประกอบ ) 1. ในจังหวะการกระโดดนั้นต้องเหวี่ยงแขนทั้งคู่ไปด้านหลัง ก่อนที่เท้าทั้งคู่จะสัมผัสพื้นในจังหวะกระโดด2. เมื่อเท้าสัมผัสพื้นนั้น ลักษณะการวางเท้าทั้งคู่ส่วนใหญ่เกือบพร้อมๆ กับการย่อตัวลง สะโพกต่ำศีรษะและหน้าอกต่ำ เพื่อช่วยในการดึงตัวขึ้น3. ส่งแรงถีบจากเท้าพร้อม ๆ กับเหวี่ยงแขนไปด้านหน้า ดึงลำตัวขึ้นเพื่อช่วยส่งแรงขึ้นด้านบนทั้ง 3 ขั้นตอนนี้จะปฏิบัติเกือบพร้อม ๆ กันและต่อเนื่องกันไป
 
4. การลอยตัวบนอากาศขณะลอยตัวบนอากาศ ผู้เล่นควรมีเทคนิคที่ดีเพื่อช่วยให้ลอยตัวอยู่บนอากาศได้นาน ทำให้มีโอกาศทำการตบ หรือบล๊อคได้อย่างมีประสิทธิภาพ- ขณะที่ผู้เล่นลอยตัวอยู่บนอากาศ ให้ผู้เล่นพยายามยืดหน้าอก และแขทั้งสองข้างส่งขึ้นข้างบน เกร็งกล้ามเนื้อท้องเพื่อให้ตัวค้างบนอากาศได้นาน- ผู้เล่นที่ทำการตบ นอกจากจะต้องลอยตัวบนอากาศ ขณะจะทำการตบจะต้องใช้ส่วนของลำตัวด้านตรงข้ามกับมือที่ใช้ตบบอล เป็นส่วนควบคุมการลอยตัว เช่น หากเป็นผู้เล่นถนัดขวา จะต้องใช้ด้านซ้ายของลำตัว เช่น แขนเป็นส่วนควบคุมความสมดุลของร่างกายขณะลอยตัวทำการตบอยู่กลางอากาศ
กลับไปที่หน้า "บรรณานุกรม"