ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
 
ในสิ่งมีชีวิต ATP ถูกสร้างขึ้นด้วยวิถีทางต่างๆ ดังนี้
* Substrate-level phosphorylation ATP สร้างขึ้นได้ โดยอาศัยพลังงานจากการย่อยสลายสารประกอบที่มีพลังงานสูงกว่า เช่น ใน [[ไกลโคลิซิสไลซิส]] มีการย่อย[[ฟอสโฟอีนอลไพรูเวต]] (Phosphoenolpyruvate) แล้วย้ายหมู่ ฟอสเฟต ที่มีพลังงานสูงมาต่อกับ ADP ทำให้กลายเป็น ATP
* ปฏิกิริยาออกซิเดทีพฟอสฟอรีเลชันพฟอสโฟรีเลชัน และ photophosphorylation[[ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชั่น|ปฏิกิริยาโฟโตฟอสโฟรีเลชัน]] ในกระบวนการเมแทบอลิซึมแบบออกซิเดทีพและกระบวน[[การสังเคราะห์ด้วยแสง]] จะทำให้เกิดความต่างของความเข้มข้น[[โปรตอน]] (H+) ระหว่างสองด้านของเยื่อหุ้มขึ้น (ใน Mitochondria [[ไมโทคอนเดรีย]]และ Chloroplast[[คลอโรพลาสต์]]) เมื่อมีการไหลกลับของโปรตอน จะมีพลังงานขับดันให้เกิดการสังเคราะห์ ATP จาก ADP และ Pi ขึ้นได้
* ปฏิกิริยาของเอนไซม์ adenylate kinase AMP ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการย่อยสลายตัดเอา Pi ฟอสเฟตออกไป (เกิดขึ้นในบางกระบวนการ เช่น การ oxidation ออกซิเดชันของ[[กรดไขมัน]]) จะสามารถกลับไปเป็น ATP ได้โดยผ่านขั้นตอนที่เร่งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ adenylate kinase
 
 
[[หมวดหมู่:สารเคมี]]
[[หมวดหมู่:เซลล์]]
 
[[af:Adenosientrifosfaat]]