ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮิโรโอะ โอโนดะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 48:
== ชีวิตต่อมา ==
 
หลังจากกลับญี่ปุ่นแล้ว โอะโนะดะได้รับความนิยมเป็นอันมาก ถึงขนาดที่ชาวญี่ปุ่นบางคนอยากให้เขาเป็นสมาชิก[[รัฐสภาแห่งญี่ปุ่น|รัฐสภา]] เขาได้เขียนหนังสืออัตชีวประวัติชื่อ "โนเซอร์เรนเดอร์: มายเธอร์ที-เยียร์วอร์" ("No Surrender: My Thirty-Year War", ''ไม่ยอมมอบตัว: สงครามสามสิบปีของผม'') บรรยายชีวิตของเขาในช่วงที่ปฏิบัติหน้าที่กองโจรตามคำสั่งของกองทัพญี่ปุ่นแม้ว่าสงครามจะยุติไปนมนานแล้วก็ตาม ทว่าหนังสือดังกล่าวยังระบุว่า โอะโนะดะเองไม่ชอบใจนักที่ตนเองเป็นจุดสนใจ และไม่ชอบใจวัฒนธรรมสมัยใหม่ที่เขามองว่าลดคุณค่าประเพณีญี่ปุ่น หนังสือเช่นว่าได้รับการแปลเป็นภาษาไทย ให้ชื่อว่า "สู้สุดขีด" และตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1980 (พ.ศ. 2523)<ref>{{cite web | title = สู้สุดขีด | publisher = Toulo.com | url= http://www.toulo.com/product/ProductDetail.asp?ProductID=16062&CategoryID=3010 | accessdate=30 พฤษภาคม 2011}}</ref>
 
ในเดือนเมษายน 1975 เขาละญี่ปุ่นไปใช้ชีวิตเป็นชาวไร่ในบราซิล เขาแต่งงานกับสตรีญี่ปุ่นชื่อ มะชิเอะ (Machie) ในปีถัดมา ครั้นปี 1980 หลังจากได้อ่านข่าวเรื่องวัยรุ่นญี่ปุ่นที่ฆ่าบิดามารดาตนเอง เขาตัดสินใจกลับประเทศแม่ในอีกสี่ปีถัดมา แล้วจัดค่ายทางการศึกษาสำหรับเยาวชน เรียก "โีรงเรียนธรรมชาติของโอะโนะดะ" (Onoda Shizen Juku) ต่อมา เขาได้เป็นผู้นำชุมชนด้วย<ref>{{cite book | last = Mercado | first = Stephen C. | authorlink = | coauthors = | title = The Shadow Warriors of Nakano | publisher = Brassey's | date = 2003 | location = | pages = 246–247 | url = | doi = | id = | isbn = 1574885383}}</ref>
บรรทัด 67:
The action thriller [[Shima (2007)]] explores the psychological trauma faced by an officer of the Imperial Army. The film is loosely based on the life on Lieutenant Hiroo Onoda and other soldiers involved in Japanese holdouts.
-->
 
==เชิงอรรถ ==
{{Reflist}}