ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การลงทุนแบบเน้นคุณค่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การลงทุนแบบเน้นคุณค่า''' หรือ'''การลงทุนตามมูลค่า''' เป็นแนวทาง[[การลงทุน]]หนึ่งที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงในปัจจุบัน ริเริ่มและพัฒนาขึ้นโดย [[เบนจามิน เกรแฮม]] ต่อมาถูกนำมาใช้และประสบความสำเร็จอย่างสูง โดย [[วอเรน บัฟเฟต]] เป็นแนวทางการลงทุนที่เน้นลงทุนในกิจการที่ผู้ลงทุนมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และ สามารถประเมิณประเมินมูลค่าของกิจการในอนาคตได้
 
==หลักการที่ขัดแย้งกับการลงทุนแบบเน้นคุณค่า==
โดยในปัจจุบันได้มีหนังสือที่ออกมาเกี่ยวกับแนวทางดังกล่าวเช่น [[Security Analysis]] และ [[The Intelligent Investor]] โดยเบนจามิน เกรแฮม เป็นต้น
 
ตามหลักการลงทุนแบบเน้นคุณค่า นักลงทุนจะประเมินมูลค่าบริษัทและหุ้นของบริษัทด้วยปัจจัยพื้นฐาน เมื่อได้มูลค่าที่เหมาะสมแล้วจึงพิจารณาราคาในตลาดหลักทรัพย์ หากพบว่าราคาของหลักทรัพย์ทั้งหมดต่ำกว่า ก็จะเข้าซื้อหุ้น ทั้งนี้เพราะเชื่อว่าราคาในตลาดจะวิ่งไปหามูลค่าที่เหมาะสมในระยะยาว
ต่อจากนั้น บัฟเฟตไม่ได้ลงทุนตามแบบของเกรแฮมทั้งหมด เขาเคยบอกว่าเขาเป็น 50% เกรแฮม และ 50% ฟิชเชอร์ ซึ่ง [[ฟิล ฟิชเชอร์]]ก็เป็นนักลงทุนอีกท่านในยุคนั้นที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และได้แต่งหนังสือชื่อ [[Common Stock and Uncommon Profit]] ขึ้นมา ในหนังสือนี้จะสอนให้นักลงทุนพิจารณา[[ปัจจัยทางคุณภาพ]]มากกว่า [[ปัจจัยทางปริมาณ]]ซึ่งหลักการนี้ต่างจากหลักการของเกรแฮมที่สอนให้นักลงทุนศึกษาปัจจัยทางปริมาณให้ถ่องแท้
 
โดยในปัจจุบันได้มีหนังสือที่ออกมาเกี่ยวกับแนวทางดังกล่าวหลายเล่ม ที่ยอมรับนับถือว่าเป็นคัมภีร์ของนักลงทุนก็เช่น [[Security Analysis]] และ [[The Intelligent Investor]] โดยเบนจามิน เกรแฮม เป็นต้น
 
ต่อจากนั้นอย่างไรก็ตาม บัฟเฟตไม่ได้ด้วยวิวัฒนาการในการลงทุนตามแบบของเกรแฮมทั้งหมด เขาเคยบอกว่าเขาเป็น 50% เกรแฮมจึงมีแนวคิดอื่นเช่นการลงทุนในหุ้นโตเร็ว และปัจจัยทางการบริหารจัดการ 50% ฟิชเชอร์ ซึ่ง [[ฟิล ฟิชเชอร์]]ก็เป็นเจ้าของแนวคิดดังกล่าว ท่านเป็นนักลงทุนอีกท่านในยุคนั้นที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และได้แต่งหนังสือชื่อ [[Common Stock and Uncommon Profit]] ขึ้นมา ในหนังสือนี้จะสอนให้นักลงทุนพิจารณา[[ปัจจัยทางคุณภาพ]]มากกว่า [[ปัจจัยทางปริมาณ]]ซึ่งหลักการนี้ต่างจากหลักการของเกรแฮมที่สอนให้นักลงทุนศึกษาปัจจัยทางปริมาณให้ถ่องแท้
 
ปัจจุบันมีแนวคิดและหลักการต่างๆ ประยุกต์และแตกแขนงออกไปจากหลักการพื้นฐาน แต่ทุกแนวคิดก็ยังต้องอิงกับปัจจัยทางปริมาณ และปัจจัยทางคุณภาพ ร่วมกันเพื่อประเมินมูลค่าหุ้นที่เหมาะสม
 
*== การประเมินมูลค่าหุ้น (Stock Valuation)กิจการ==
ในประเทศไทย [[นิเวศน์ เหมวชิรวรากร|ดร. นิเวศน์ เหมวชิรวรากร]] นับเป็นผู้บุกเบิกและเผยแพร่แนวทางการลงทุนแบบเน้นคุณค่าให้แพร่หลาย โดย ดร. นิเวศน์ ได้แต่งหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้หลายเล่ม รวมทั้งหนังสือชื่อ "ตีแตก" ซึ่งนับได้ว่าเป็นหนังสือที่นักลงทุนแบบเน้นคุณค่าแทบทุกคนในไทยต้องเคยอ่านผ่านตามาบ้าง
วิธีประเมินมูลค่าตามแบบของการลงทุนแบบเน้นคุณค่านั้น จะตัดราคาตลาดไปอย่างสิ้นเชิง ความเข้าใจคลาดเคลื่อนนั้นใช้ ราคาต่อกำไร ราคาต่อมูลค่าทางบัญชี และอัตราเงินปันผล ซึ่งไม่ถูกต้องเสียทีเดียว ตามหนังสือ Value Investing from Graham to Buffett and Beyond ของ Greenwald และคณะ ได้แสดงไว้ 3วิธี
 
1.วิธีต้นทุนทดแทน (Replacement Cost)
2.ความสามารถในการทำกำไร (Earning Power Value)
3.การเติบโต (Growth)
 
==ความเข้าใจผิดต่อการลงทุนแบบเน้นคุณค่าในประเทศไทย==
นักลงทุนไทยอีกท่านหนึ่งที่ถือว่าเป็นแนว เน้นคุณค่า ก็คือ [[โกศล ไกรฤกษ์]] ผู้ล่วงลับ ได้ฝากคำสอนในการลงทุนไว้ให้นักลงทุนรุ่นหลังพิจารณามากมาย ท่านมีชื่อเสียงในการลงทุนจากสไตล์ลงทุนที่ไม่เหมือนใคร และการรักษาสิทธิผู้ถือหุ้น มีสมญานามว่า "นักเลงโบราณ"
 
==หลักการสนับสนุนของในประเทศไทย ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ามีการลงทุนแบบเน้นคุณค่า==ตั้งแต่เมื่อไหร่
*หลักการส่วนเผื่อเพื่อความปลอดภัย(Margin of Safety)
*การประเมินมูลค่าหุ้น (Stock Valuation)
*การลงทุนเสมือนหนึ่งเป็นเจ้าของกิจการ
*การวิเคราะห์ทางการเงินของบริษัท
*หลักการบัญชี
*ธรรมาภิบาลและความสามารถของผู้บริหาร
 
ในประเทศไทยปัจจุบันนักลงทุนบางส่วนเริ่มมีพัฒนาการจากการเห็นตลาดหุ้นเป็นแหล่ง[[เก็งกำไร]] หรือเล่น[[พนัน]] และมีการนำหลักการลงทุนแบบเน้นคุณค่าเข้ามามากขึ้น [[นิเวศน์ เหมวชิรวรากร|ดร. นิเวศน์ เหมวชิรวรากร]] นับเป็นผู้บุกเบิกและเผยแพร่แนวทางการลงทุนแบบเน้นคุณค่าให้แพร่หลาย โดย ดร. นิเวศน์ ได้แต่งและแปลหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้หลายเล่ม รวมทั้งหนังสือชื่อ "ตีแตก" ซึ่งนับได้ว่าเป็นหนังสือที่นักลงทุนแบบเน้นคุณค่าแทบทุกคนในไทยต้องเคยอ่านผ่านตามาบ้าง
==หลักการที่ขัดแย้งกับการลงทุนแบบเน้นคุณค่า==
*ทฤษฎีประสิทธิภาพของตลาด
*หลักการวิเคราะห์เทคนิค
 
นักลงทุนไทยอีกท่านหนึ่งที่ถือว่าเป็นแนว เน้นคุณค่า ก็คือ [[โกศล ไกรฤกษ์]] ผู้ล่วงลับ ได้ฝากคำสอนในการลงทุนไว้ให้นักลงทุนรุ่นหลังพิจารณามากมาย ท่านมีชื่อเสียงในการลงทุนจากสไตล์ลงทุนที่ไม่เหมือนใคร และการรักษาสิทธิผู้ถือหุ้น มีสมญานามว่า "นักเลงโบราณ"
==ความเข้าใจผิดต่อการลงทุนแบบเน้นคุณค่า==
===การไม่ลงทุนในอนุพันธ์===
หากสามารถพบอนุพันธ์(Futures,Warrant)ที่มีมูลค่าต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานก็สามารถลงทุนได้
===การลงทุนหุ้นปันผล===
การลงทุนในหุ้นที่ปันผลไม่จำเป็นต้องเป็นการลงทุนแบบเน้นคุณค่า เพราะบางครั้งบริษัทปันผลไม่สม่ำเสมอ หรือปันผลด้วยเงินที่ไม่ได้มาจากผลประกอบการณ์ เช่นกู้เงินมาปันผล หรือเพิ่มทุนเพื่อปันผล บางกรณีการจ่ายปันผลทำให้เสียโอกาสในการขยายกิจการของบริษัท
===การลงทุนหุ้น P/E ต่ำ===
หุ้นที่มีลักษณะกำไรขึ้นๆลงๆเป็นวัฏจักรมักจะมี P/E ต่ำสุด ในช่วงสูงสุดของวัฏจักร
===การลงทุนในหุ้นที่กำลังตก===
หรือลงทุนแบบชาวสวน, หุ้นที่กำลังตกโดยพื้นฐานยังดีอยู่เป็นแหล่งหนึ่งของหุ้นที่มีคุณค่า แต่ในหลายกรณีหุ้นตกเพราะมีราคาสูงกว่ามูลค่าอยู่มาก