ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจับ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 33:
==== การจับโดยเจ้าพนักงาน ====
 
[[ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)|ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา]] ว่า ในกรณีทั่วไป เจ้าพนักงานต้องจับโดยมี[[หมายจับ|หมายของศาล]] หรือมีคำสั่งของศาล ให้จับ<ref>ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 78 วรรคหนึ่ง<br><blockquote>"พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจจะจับผู้ใดโดยไม่มีหมายจับหรือคำสั่งของศาลนั้นไม่ได้..."</blockquote></ref> แต่มีบางกรณีที่เจ้าพนัีกงานสามารถ[[หมายจับ|จับโดยปราศจากหมายจับได้]]

วิธีจับ ให้เจ้าพนักงานแจ้งบุคคลนั้น ๆ ว่า ''"คุณต้องถูกจับ"'' จากนั้น ให้สั่งให้เขาเดินทางไปที่ทำการของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบคดีนั้นหรือผู้มีอำนาจในท้องที่นั้นพร้อมด้วยเจ้าพนักงานผู้จับ<ref name = "CCrP-S83-P1">ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 83 วรรคหนึ่ง<br><blockquote>"ในการจับนั้น เจ้าพนักงานหรือราษฎรซึ่งทำการจับต้องแจ้งแก่ผู้ที่จะถูกจับนั้นว่าเขาต้องถูกจับ แล้วสั่งให้ผู้ถูกจับไปยังที่ทำการของพนักงานสอบสวนแห่งท้องที่ที่ถูกจับพร้อมด้วยผู้จับ เว้นแต่สามารถนำไปที่ทำการของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบได้ในขณะนั้น ให้นำไปที่ทำการของพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบดังกล่าว แต่ถ้าจำเป็น ก็ให้จับตัวไป"</blockquote></ref> ในการนี้ เจ้าพนักงานต้อง[[การเตือนมิแรนดา|แจ้งเขา]]ด้วยว่า<ref name = "CCrP-S83-P2">ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 83 วรรคสอง<br><blockquote>"ในกรณีที่เจ้าพนักงานเป็นผู้จับ ต้องแจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกจับทราบ หากมีหมายจับ ให้แสดงต่อผู้ถูกจับ พร้อมทั้งแจ้งด้วยว่า ผู้ถูกจับมีสิทธิที่จะไม่ให้การหรือให้การก็ได้ และถ้อยคำของผู้ถูกจับนั้นอาจใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้และผู้ถูกจับมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความหรือผู้ซึ่งจะเป็นทนายความ ถ้าผู้ถูกจับประสงค์จะแจ้งให้ญาติหรือผู้ซึ่งตนไว้วางใจทราบถึงการจับกุม ที่สามารถดำเนินการได้โดยสะดวก และไม่เป็นการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผู้ถูกจับ หรือทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่บุคคลหนึ่งบุคคลใด ก็ให้เจ้าพนักงานอนุญาตให้ผู้ถูกจับดำเนินการได้ตามสมควรแก่กรณี ในการนี้ ให้เจ้าพนักงานผู้จับนั้นบันทึกการจับดังกล่าวไว้ด้วย"</blockquote></ref>
 
<blockquote>''"ผู้ถูกจับมีสิทธิที่จะไม่ให้การหรือให้การก็ได้ ถ้อยคำของผู้ถูกจับนั้นอาจใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้ และผู้ถูกจับมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความหรือผู้ซึ่งจะเป็นทนายความ"''</blockquote>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/การจับ"