ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Subpadon/การสะท้อน (ฟิสิกส์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Subpadon (คุย | ส่วนร่วม)
Subpadon (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10:
 
==การสะท้อนของแสง==
[[Image:Kayaking Deep Fork Wildlife Refuge Oklahoma.jpg|rightleft|thumb|220px220px|upright|Double reflectionการสะท้อนสองต่อ: The sun is reflected in the water, which is reflected in the paddle.ภาพของดวงอาทิตย์เกิดการสะท้อนบนผิวน้ำซืึ่งสะท้อนต่อที่ใบพาย]]
 
แสงอาจเกิดการสะท้อนสมบูรณ์ (specular reflection) เช่นการสะท้อนผ่านกระจกเงา หรือสะท้อนไม่สมบูรณ์ (diffuse reflection) ซึ่งสูญเสียภาพเชิงฟิสิกส์แต่อนุรักษ์พลังงาน ขึ้นกับชนิดของตัวกลางทึบแสงซึ่งแสงเกิดการสะท้อน
บรรทัด 31:
# มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
 
===กลไกของการสะท้อน===
===Mechanisms of reflection===
จากความรู้เกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลาสสิค แสงถูกจัดให้เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยสมการของแมกซ์เวลล์ ด้วยหลักการนี้สามารถอธิบายกลไกการสะท้อนของแสงได้ กล่าวคือ คลื่นแสงซึ่งตกกระทบลงบนผิวของวัตถุทำให้เกิดการสั่นสะเทือนและเกิดการโพลาไรซ์ในระดับอะตอม (หรือการสั่นของอิเล็กตรอนในกรณีของโลหะ) ซึ่งส่งผลให้อนุภาคเหล่านี้เกิดการแผ่คลื่นทุติยภูมิในทุกทิศทาง ซึ่งทำให้เกิดหลักการของออยเกนส์และเฟรชเนลซึ่งอธิบายว่าคลื่นทุติยภูมิเหล่านี้เองคือการสะท้อนแบบสมบูรณ์กลับสู่ตัวกลางที่หนึ่งและการหักเหเข้าสู่ตัวกลางที่สอง
In the [[Classical electromagnetism|classical electrodynamics]], light is considered as electromagnetic wave, which is governed by the [[Maxwell Equations]]. Light waves incident on a material induce small oscillations of [[Dielectric polarization|polarisation]] in the individual atoms (or oscillation of electrons, in metals), causing each particle to radiate a small secondary wave (in all directions, like a dipole antenna). All these waves add up to give specular reflection and refraction, according to the [[Huygens-Fresnel principle]].
 
ในกรณีของฉนวนไฟฟ้าเช่นแก้ว สนามไฟฟ้าจากคลื่นแสงที่เกิดปฏิสัมพันธ์กับอิเล็กตรอนในแก้ว อิเล็กตรอนที่สั่นเหล่านี้สร้างสนามไฟฟ้าขึ้นและกลายเป็นตัวส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การหักเหของแสงในแก้วที่สังเกตได้เป็นคลื่นลัพธ์ที่ได้จากการรวมคลื่นตกกระทบเข้ากับคลื่นที่ปล่อยออกมาจากการสั่นของอนุภาคของแก้วในทิศทางเดียวกันกับคลื่นตกกระทบ ในขณะที่คลื่นจากการสั่นของอนุภาคของแก้วในทิศตรงกันข้ามทำให้เกิดการสะท้อนที่สังเกตได้ การแผ่รังสีของอนุภาคของตัวกลางนี้เกิดขึ้นทั่วไปในแก้วแต่ผลลัพธ์ที่ได้เทียบเท่ากับการสะท้อน ณ พื้นผิวแต่เพียงอย่างเดียว
In case of dielectric (glass), the electric field of the light acts on the electrons in the glass, the moving electrons generate a field and become a new radiator. The refraction light in the glass is the combined of the forward radiation of the electrons and the incident light and; the backward radiation is the one we see reflected from the surface of transparent materials, this radiation comes from everywhere in the glass, but it turns out that the total effect is equivalent to a reflection from the surface.
 
สำหรับโลหะซึ่งประกอบด้วยอิเล็กตรอนอิสระที่สามารถเคลื่อนที่ได้ทั่วไปในเนื้อโลหะ
 
In metals, the electrons with no binding energy are called free electrons. The density number of the free electrons is very large. When these electrons oscillate with the incident light, the phase differences between the radiation field of these electrons and the incident field are <math>\pi</math>, so the forward radiation will compensate the incident light at a [[skin depth]], and backward radiation is just the reflected light.