ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางการแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ro:Ultrasunet
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Baby_in_ultrasound.jpg‎|thumb|ภาพทารกในครรภ์จากการตรวจอัลตร้าซาวด์]]
'''การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]. เรียกข้อมูลวันที่ [[8 มีนาคม|8 มี.ค.]] [[พ.ศ. 2553|2553]].</ref> หรือ '''การตรวจอัลตร้าซาวด์ ''' ({{lang-en|ultrasonography}}) หมายถึง การตรวจโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง เกินระดับที่หูของคนเราจะได้ยิน คลื่นเสียงนี้ไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ ทั้งสิ้นในระดับความถี่และปริมาณที่ใช้อยู่ในทางการแพทย์ จึงเป็นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการตรวจเบื้องต้น และการตรวจวินิจฉัยทั่วไป โดยเฉพาะในเด็กและทารกในครรภ์ เพราะนอกจากจะไม่เป็นอันตรายแล้ว ยังทำการตรวจได้โดยผู้ป่วยไม่รู้สึกเจ็บปวดบริเวณที่ตรวจ นอกเหนือไปจากแรงกดเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
 
* '''การตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนบน''' เพื่อดูลักษณะทั่วๆไป ของ[[ตับ]] [[ตับอ่อน]] [[ม้าม]] [[ถุงน้ำดี]] [[ท่อน้ำดี]] และ[[ไต]] เช่น มีก้อนเนื้อที่ผิดปกติ มีนิ่วที่ไตหรือถุงน้ำดี
== ประเภทของการบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ==
** '''การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนบน''' กรณีที่มีการนัดมาทำการตรวจ หมอจะแนะนำให้งดอาหารประมาณ 4 ชั่วโมง ก่อนมาทำการตรวจ เพื่อให้เวลาถุงน้ำดีเก็บกัก[[น้ำดี]] และเพื่อลดปริมาณลมใน[[กระเพาะ]]และ[[ลำไส้]] ซึ่งจะช่วยให้เห็นอวัยวะต่างๆ ได้อย่างชัดเจน
=== การตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนบน ===
* '''การตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนล่าง''' เพื่อตรวจดูขนาด และความผิดปกติของอวัยวะในช่องท้องส่วนล่าง อันประกอบด้วย [[กระเพาะปัสสาวะ]] [[มดลูก]] [[รังไข่]] [[ต่อมลูกหมาก]] หรือกรณีที่สงสัยว่าเป็น[[ไส้ติ่งอักเสบ]] เป็นต้น
* '''การตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนบน''' เพื่อดูลักษณะทั่วๆไป ของ[[ตับ]] [[ตับอ่อน]] [[ม้าม]] [[ถุงน้ำดี]] [[ท่อน้ำดี]] และ[[ไต]] เช่น มีก้อนเนื้อที่ผิดปกติ มีนิ่วที่ไตหรือถุงน้ำดี
** '''การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนล่าง''' การตรวจช่องท้องส่วนล่าง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้มีน้ำปัสสาวะมากๆในกระเพาะปัสสาวะ เพราะน้ำในกระเพาะปัสสาวะจะช่วยดันลำไส้ออกจาก[[ช่องเชิงกราน]] ทำให้เห็นมดลูก รังไข่ ต่อมลูกหมาก และพยาธิสภาพอื่นๆ ได้ดีขึ้น ปริมาณปัสสาวะในกระเพาะที่จะช่วยให้การตรวจสมบูรณ์นั้น มักจะมากกว่าปริมาณที่ทำให้รู้สึกปวด[[ปัสสาวะ]]ในภาวะปกติ จึงต้องดื่มน้ำขณะรอตรวจ เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายกลั่นปัสสาวะเพิ่ม ซึ่งใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 30 นาทีหลังดื่มน้ำ
;การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนบน
* '''การตรวจอัลตร้าซาวด์ในอวัยวะอื่นๆ'''
** '''การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนบน''' :กรณีที่มีการนัดมาทำการตรวจ หมอจะแนะนำให้งดอาหารประมาณ 4 ชั่วโมง ก่อนมาทำการตรวจ เพื่อให้เวลาถุงน้ำดีเก็บกัก[[น้ำดี]] และเพื่อลดปริมาณลมใน[[กระเพาะ]]และ[[ลำไส้]] ซึ่งจะช่วยให้เห็นอวัยวะต่างๆ ได้อย่างชัดเจน
**การตรวจความสมบูรณ์ของทารกในครรภ์ สามารถดูเพศและความผิดปกติต่างๆได้
 
**การตรวจแยกระหว่างก้อนเนื้อและถุงน้ำที่เต้านม และส่วนอื่นๆ ของร่างกาย
**=== การตรวจเส้นเลือดและ[[ต่อมธัยรอยด์]]อวัยวะในช่องท้องส่วนล่าง ===
* '''การตรวจอวัยวะในช่องท้องส่วนล่าง''' เพื่อตรวจดูขนาด และความผิดปกติของอวัยวะในช่องท้องส่วนล่าง อันประกอบด้วย [[กระเพาะปัสสาวะ]] [[มดลูก]] [[รังไข่]] [[ต่อมลูกหมาก]] หรือกรณีที่สงสัยว่าเป็น[[ไส้ติ่งอักเสบ]] เป็นต้น
==อ้างอิง==
 
{{reflist}}
;การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนล่าง
** '''การเตรียมตัวก่อนตรวจช่องท้องส่วนล่าง''' :การตรวจช่องท้องส่วนล่าง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้มีน้ำปัสสาวะมากๆในกระเพาะปัสสาวะ เพราะน้ำในกระเพาะปัสสาวะจะช่วยดันลำไส้ออกจาก[[ช่องเชิงกราน]] ทำให้เห็นมดลูก รังไข่ ต่อมลูกหมาก และพยาธิสภาพอื่นๆ ได้ดีขึ้น ปริมาณปัสสาวะในกระเพาะที่จะช่วยให้การตรวจสมบูรณ์นั้น มักจะมากกว่าปริมาณที่ทำให้รู้สึกปวด[[ปัสสาวะ]]ในภาวะปกติ จึงต้องดื่มน้ำขณะรอตรวจ เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายกลั่นปัสสาวะเพิ่ม ซึ่งใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 30 นาทีหลังดื่มน้ำ
 
*=== '''การตรวจอัลตร้าซาวด์ในอวัยวะอื่นๆ''' ===
** การตรวจความสมบูรณ์ของทารกในครรภ์ สามารถดูเพศและความผิดปกติต่างๆได้
** การตรวจแยกระหว่างก้อนเนื้อและถุงน้ำที่เต้านม และส่วนอื่นๆ ของร่างกาย
* การตรวจเส้นเลือดและ[[ต่อมธัยรอยด์]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:การตรวจทางการแพทย์]]
{{โครงแพทย์}}