ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hs8jyx (คุย | ส่วนร่วม)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Moon-Mdf-2005.jpg||right|200250px|ดวงจันทร์]]
'''การติดต่อสื่อสารสะท้อนพื้นผิวดวงจันทร์''' หรือ '''({{lang-en|Earth-Moon-Earth''' หรือ '''Moon bounce'''}}) มักเรียกกันสั้นๆ ว่า '''EME''' หมายถึงการติดต่อสื่อสารโดยการส่งสัญญาณวิทยุจากโลกไปสะท้อนพื้นผิวของดวงจันทร์กลับมายังโลก ซึ่งพื้นผิวของดวงจันทร์จะสะท้อน คลื่นวิทยุคล้ายกับการติดต่อสื่อสารย่าน HF ที่ใช้ชั้นบรรยากาศสะท้อนคลื่นวิทยุเพื่อช่วยในการติดต่อสื่อสารให้สามารถเกิดขึ้นได้ แต่การใช้ดวงจันทร์สะท้อนคลื่นวิทยุนั้นมีความยากกว่ามาก เนื่องจาก[[ดวงจันทร์]]อยู่ห่างจาก[[โลก]]มาก ทั้งยังมีการลดทอนสัญญาณที่ผ่านชั้นบรรยากาศ และปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่าง ดังนั้นการติดต่อ EME นับได้ว่าเป็นความท้าทายอย่างมากของ[[วิทยุสมัครเล่น| นักวิทยุสมัครเล่น]]ที่จะทดลอง
 
== เกี่ยวกับดวงจันทร์ ==
[[ไฟล์:Moon-Mdf-2005.jpg||right|200px|ดวงจันทร์]]
* เป็นดาวบริวารของโลก ซึ่งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 384,400 กิโลเมตร
* มีรัศมีความกว้างประมาณ 3,476 กิโลเมตร
เส้น 55 ⟶ 56:
การติดต่อ EME มักนิยมเล่นกันในช่วงสุดสัปดาห์หรือเสาร์-อาทิตย์ และจะดีที่สุดในช่วงดวงจันทร์เพิ่งขึ้นและใกล้ตก ซึ่งดวงจันทร์จะอยู่สูงจากขอบโลกไม่ควรเกิน 12 องศา เพราะจะได้ Ground Gain ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อ คู่สถานีจะต้องมองเห็นดวงจันทร์พร้อมกันด้วย และจะจับคู่สถานีระหว่างทวีป อเมริกา ยุโรป และเอเชีย ซึ่งโดยส่วนมากถ้าเป็นสถานีที่ไม่ใหญ่มาก มีกำลังส่งไม่สูง มักมีการนัดหมายกันล่วงหน้าก่อน โดยใช้วิธีการผลัดกันรับ-ส่ง ฝ่ายละ 2 นาที โดยให้สถานีที่อยู่ทางตะวันออกเป็นผู้เริ่มส่งก่อน จากเวลาที่นัดหมายกัน การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างการติดต่อจะใช้ระบบ TMO แต่ในบางครั้งก็ใช้ระบบ RST
 
''';ระบบ TMO'''
* T หมายถึง สามารถรับได้แต่ไม่สามารถเข้าใจความหมายใดๆ ได้เลย
* M หมายถึง บางส่วนของสัญญาณเรียกขานสามารถรับได้ แต่ไม่ครบสมบูรณ์
เส้น 128 ⟶ 129:
| การ QSO ครบสมบูรณ์
|}
 
 
=== Random QSO ===
สถานีที่มีสายอากาศอัตราขยายมาก และกำลังส่งสูงพอที่จะติดต่อโดยไม่ต้องมีการนัดหมายล่วงหน้าสามารถใช้วิธีการติดต่อโดยไม่ต้องนัดหมายได้ ถ้าสัญญาณสามารถรับได้ดี
 
 
 
[[หมวดหมู่:งานอดิเรก]]
[[หมวดหมู่:วิทยุสมัครเล่น]]
[[หมวดหมู่:การสื่อสารไร้สาย]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[de:Erde-Mond-Erde]]