ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคนเดลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Iamion (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: [[ไฟล์:Luminosity.png|thumb|right|400px|ฟังก์ชันความเข้มการส่องสว่างของการเห็นในเ...
 
Iamion (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 10:
เช่นเดียวกับหน่วยฐานเอสไออื่นๆ แคนเดลามีนิยามเชิงปฏิบัติการ ตั้งแต่การประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 16 ในปี 1979 หน่วยแคนแดลาได้รับการนิยามจากกระบวนการทางฟิสิกส์ที่ให้ความเข้มของการส่องสว่างขนาด 1 แคนเดลาดังนี้
<ref>{{cite web
| title = Base unit definitions: Candela
| work = The NIST Reference on Constants, Units, and Uncertainty
| url = http://physics.nist.gov/cuu/Units/candela.html
| accessdate = Sept. 27, 2010
}}</ref>
 
บรรทัด 28:
สามารถคำนวณได้จาก
 
:<math>I_v (\lambda) = 683.002\,\overline{y} (\lambda) I (\lambda) </math>
 
เมื่อ
: <math>I_v (\lambda) </math> เป็นความเข้มของการส่องสว่างในหน่วยแคนเดลา
: <math>I (\lambda) </math> เป็นความเข้มของการปลดปล่อยแสงในหน่วยวัตต์ต่อสเตอเรเดียน
: <math>\overline{y} (\lambda) </math> เป็นฟังก์ชันการส่องสว่างมาตรฐาน ถ้ามีมากกว่าหนึ่งความยาวคลื่น (ซึ่งเป็นกรณีโดยทั่วไป) ต้องทำการรวมหรือหา[[ปริพันธ์]]บนช่วงความยาวคลื่นของสเปกตรัมดังกล่าวเพื่อหาความเข้มของการส่องสว่างทั้งหมด
 
ความเข้มการส่องสว่างของ[[เทียน]] 1 เล่มมีขนาดประมาณ 1 แคนเดลา ความเข้มการส่องสว่างของหลอดไส้ 100 [[วัตต์]]มีขนาดประมาณ 120 แคนเดลา<ref>{{cite web |url=http://www.wisegeek.com/what-is-a-candela.htm |title=What is a Candela? |work=WiseGeek |accessdate=Aug. 24, 2008}}</ref>
บรรทัด 42:
กับแสงเทียนแล้ว ยังเปรียบเทียบแสงไฟที่เกิดจากการเผาเส้นใยเฉพาะอย่าง หนึ่งในหน่วยวัดความเข้มของการส่องสว่าง
ที่เป็นที่รู้จักได้แก่ แรงเทียนในระบบมาตฐานอังกฤษ หนึ่งแคนเดลาเท่ากับความสว่างที่เกิดมาจากเทียนที่ทำมาจาก
ไขปลาวาฬบริสุทธิ์น้ำหนักเศษหนึ่งส่วนหกปอนด์และเผาไหม้ในอัตรา 120 เกรนต่อชั่วโมง เยอรมนี ออสเตรีย และ สแกนดินาเวียใช้หน่วย hefnerkerze ซึ่งนำมาจากตะเกียงเฮฟเนอร์ (Hefner lamp) <ref>{{cite web |url=http://www.sizes.com/units/hefner.htm |title=Hefner unit, or Hefner candle |work=Sizes.com |date=30 May 2007 |accessdate=25 Feb. 2009}}</ref>
 
จากความต้องการการนิยามหน่วยความเข้มของการส่องสว่างที่ชัดเจนยิ่งขึ้น คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยความส่องสว่าง (International Commission on Illumination: CIE) และคณะกรรมการมาตรวิทยาสากล (CIPM) ได้เสนอ “แรงเทียนใหม่” โดยใช้การส่องสว่างจาก[[วัตถุดำ|การแผ่รังสีของพลังค์]]จาก[[แพลตินัม]]แช่แข็ง และปรับค่าของหน่วยใหม่ให้ใกล้เคียงกับหน่วยแรงเทียนเดิม ในที่สุด CIPM ได้ตัดสินใจประกาศนิยามในปี 1946 ว่า
<blockquote> '''แรงเทียนใหม่''' นิยามมาจาก ความสว่างจากการแผ่รังสีในทุกๆ สเปกตรัม ณ จุดเยือกแข็งของแพลตินัมจะต้องเท่ากับ 60 แรงเทียนใหม่ต่อตารางเซนติเมตร<ref>{{cite book | title = The Metric System: The International System of Units (SI) | author = Barry N. Taylor | publisher = U. S. Department of Commerce | year = 1992 | isbn = 0941375749 | page = 18 | url = http://books.google.com/books?id=y2-BDaoBVnwC&pg=PA18&dq=%22value+of+the+new+candle+is+such+that+the+brightness+of+the+full+radiator%22&as_brr=3&ei=elatR_S1FofgswPvu430BQ&sig=yl2AU7A-R1O9e5ZuEzuLwekiM2E }} (NIST Special Publication 330, 1991 ed.) </ref></blockquote>
 
ในการประชุมมาตรวิทยาระหว่างประเทศครั้งที่ 9 ในปี 1948 ได้เปลี่ยนชื่อหน่วยนี้เป็น "แคนเดลา" ในการประชุมมาตรวิทยา