ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นวดารา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tony Patt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tony Patt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ถ้าดาวเคราะขาวมีคู่ที่อยู่ใกล้มันมากเกินไปหรือเกยเข้ามาใน[[ขอบเขตโรช]]ของมัน ดาวแคระขาวก็จะเริ่มดึงมวลจากคู่ของมันแล้ว คู่ของมันอาจเป็นดาวใน[[แถบลำดับหลัก]]หรือเป็นดาวอายุมากที่ใกล้สิ้นสุดอายุขัยและกำลังกลายเป็น[[ดาวยักษ์แดง]]ก็ได้ ก๊าซที่ถูกดึงมาส่วนใหญ่ประกอบไบด้วย[[ไฮโดรเจน]]และ[[ฮีเลียม]]ซึ่งเป็น 2 [[ธาตุ]]หลักในส่วนประกอบ[[แบริออน|สสารธรรมดา]]ใน[[จักรวาล]] ก๊าซที่ถูกดูดมาถูกอัดแน่นบนพื้นผิวของดาวแคระขาวโดยแรงโน้มถ่วงที่รุนแรงของมัน [[สสาร]]ที่ดาวแคระขาวดูดมาถูกบีบอัดและเพิ่มความร้อนจนอุณหภูมิสูงมากในขณะที่สสารกำลังถูกดูดออกมาจากดาวอย่างต่อเนื่อง ดาวแคระขาวประกอบไปด้วย[[สสารเสื่อม]] และจึงไม่พองตัวเมื่อความร้อนเพิ่มในขณะที่ไฮโดรเจนที่ถูกดูดมาถูกบีบอัดบนพื้นผิวของดาว การที่ต้องพึ่ง[[แรงอัด]]และอุณหภุมิในอัตราความเร็ว[[ไฮโดรเจนฟิวชั่น]]หมายความว่าเมื่อมีการบีบอัดและความร้อนที่พื้นผิวดาวแคระขาวกับอุณหภูมิประมาณ 20 ล้านเคลวินว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นเกิดขึ้น และอุณหภูมินี้สามารถถูกเผาไหม้ผ่าน[[วงจรซีเอ็นโอ]]
 
== โนวานอก[[กาแล็กซี่]]ซ้ำ ==
มีการค้นพบ'''โนวาซ้ำ''' ({{lang-en|Recurrent nova}}) ที่อยู่ใน[[ดาราจักร]] อยู่ประมาณ 10 แห่ง<ref name=Schaefer2009>{{cite journal
โนวาใน[[ดาราจักรแอนดรอเมดา]]เกิดขึ้นค่อนข้างบ่อยมาก (ประมาณ 2 [[โหล]]ต่อ[[ปี]]) โนวาเหล่านี้มี[[โชติมาตร]]สว่างกว่า 20 เล็กน้อย นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบโนวาในดาราจักรอื่นๆ เช่นใน[[ดาราจักรสามเหลี่ยม]]และ[[ดาราจักรเมสสิเยร์ 83]] อีกด้วย<ref>[http://www.supernovae.net/novae.html Extragalactic Novae]</ref>
|last=Schaefer |first=Bradley E.
|authorlink=Bradley E. Schaefer
|title=Comprehensive Photometric Histories of All Known Galactic Recurrent Novae
|pages=1–273 |year=2009
|url=http://arxiv.org/abs/0912.4426
|id={{arxiv|0912.4426}} }}</ref>โนวาซ้ำปกติจะมีโชติมาตร +8.6 ในขณะที่โนวาปกติจะมีโชติมาตรประมาณ +12<ref name=Schaefer2009/>
{| border="1" class="wikitable sortable" style="width:95%; text-align:center;"
|-----
! ชื่อ
! [[โชติมาตร]]
! จำนวนวัน<br>ที่โชติมาตร<br>ตก 3 หลัก<br>จากจุดสว่างสุด
! ปีที่เปล่งแสง
|-----
| [[อาร์เอส คนแบกงู]]
| +4.8–+11
| 14 [[วัน]]
| [[พ.ศ. 2501]], [[พ.ศ. 2510]], [[พ.ศ. 2528]], [[พ.ศ. 2549]]
|-----
| [[ที มงกุฎเหนือ]]
| +2.5–+10.8
| 6 วัน
| [[พ.ศ. 2409]], [[พ.ศ. 2489]]
|-----
| [[ที เข็มทิศ]]
| +6.4–+15.5
| 62 วัน
| [[พ.ศ. 2445]], [[พ.ศ. 2463]], [[พ.ศ. 2487]], [[พ.ศ. 2510]]
|-----
| [[ยู แมงป่อง]]
| +7.5–+17.6
| 2.6 วัน
| [[พ.ศ. 2522]], [[พ.ศ. 2530]], [[พ.ศ. 2542]], [[พ.ศ. 2553]]
|}
 
== โนวานอก[[ดาราจักร]] ==
โนวาใน[[ดาราจักรแอนดรอเมดา]]เกิดขึ้นค่อนข้างบ่อยมาก (ประมาณ 2 [[โหล]]ต่อ[[ปี]]) โนวาเหล่านี้มี[[โชติมาตร]]สว่างกว่า +20 เล็กน้อย นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบโนวาในดาราจักรอื่นๆ เช่นใน[[ดาราจักรสามเหลี่ยม]]และ[[ดาราจักรเมสสิเยร์ 83]] อีกด้วย<ref>[http://www.supernovae.net/novae.html Extragalactic Novae]</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นวดารา"