ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลรัฐธรรมนูญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: zh:憲法法院
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
{{ความหมายอื่น|สำหรับ=ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญในประเทศไทย|ดูที่=ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)}}
 
[[ไฟล์:Boehmische Hofkanzlei Vienna April 2007 003.jpg|300px|thumb|ศาลรัฐธรรมนูญแห่งออสเตรียใน ออกนั่งบัลลังก์ ณ [[เวียนนา|กรุงเวียนนา]]]]
 
'''ศาลรัฐธรรมนูญ''' ({{lang-en|constitutional court}}) เป็นศาลสูงที่มี[[ศาลสูงอำนาจพิจารณาพิพากษา]]ซึ่งวินิจฉัยข้อกฎหมายในเกี่ยวกับ[[กฎหมายรัฐธรรมนูญ]] โดยมีอำนาจหน้าที่หลักคือพิจารณาในอันที่จะวินิจฉัยว่ามีกฎหมายใดขัดแย้งกับกฎหมายมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ ตัวอย่างเช่น วินิจฉัยเป็นต้นว่า กฎหมายนั้นๆนั้น ขัดแย้งๆ ขัดกับหลักพื้นฐานแห่งสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ เป็นต้น
 
รายชื่อในบทความนี้เป็นของหลาย ๆ ประเทศที่มีศาลรัฐธรรมนูญแยกเป็นเอกเทศ ยังมีอีกหลายประเทศที่ไม่มีจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญแยกเป็นเอกเทศ แต่มีผู้แทนในการพิจารณาคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญใน[[ศาลฎีกา]]ทว่า อย่างไรก็ศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีเช่นว่าเอง นอกจากนี้ ในบางครั้งหลาย ศาลบางศาลๆ ประเทศก็ถูกไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่าศาลรัฐธรรมนูญ เช่น [[ศาลฎีกาศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกา]]ถูกเรียกได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะว่าเป็นศาลแห่งแรกในโลกที่ยกเลิกวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญต่าง ๆ (''[[คดีมาร์บูรีระหว่างมาร์บิวรี วี แมดิสันกับเมดิซัน]]'') ถึงแม้ว่าศาลนี้ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่ได้แยกจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญออกมาเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น เป็นต้นคือ [[ประเทศออสเตรีย]]เป็นประเทศแรกของโลกที่มี ซึ่งดำเนินการแยกศาลรัฐธรรมนูญออกมาเป็นเอกเทศในปี [[ค.ศ. 1920]] (ถึงแม้ว่าจะถูกเลื่อนชั่วคราวไปในราว ตามรัฐธรรมนูญที่สร้างศาลขึ้นมา จาก [[ค.ศ. 1934]] ถึง [[ค.ศ. 1945|1945]]) ก่อนหน้าตามรัฐธรรมนูญที่จัดตั้งศาลนั้น อนึ่ง ก่อนหน้านี้ มีเพียง[[สหรัฐอเมริกา|สหรัฐฯ]]และ[[ประเทศออสเตรีย|ออสเตรีย]]ออสเตรเลียเท่านั้นที่นำแนวคิดรับเอาทฤษฎี[[การทบทวนโดยฝ่ายตุลาการภิวัฒน์]] มาใช้ในศาลฎีกาศาลสูงสุดของประเทศตน
 
[[หมวดหมู่:ศาลรัฐธรรมนูญ| ]]