ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วังวินด์เซอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
| ปีบูรณะ =
| ผู้บูรณะ =
| แบบสถาปัตยกรรม = [[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิกกอธิก|ฟื้นฟูกอธิกกอธิก]]
| โครงสร้าง =
| ขนาด =
บรรทัด 35:
 
== ประวัติ ==
=== แนวคิดและการก่อสร้าง ===
[[ไฟล์:โรงเรียนเกษตราธิการ.gif|thumb|left|250px|พระตำหนักหอวังเมื่อครั้งใช้เป็นสถานที่ตั้งของ[[โรงเรียนเกษตราธิการ]]]]
=== แนวคิดและการก่อสร้าง ==
พระตำหนักหอวังก่อสร้างขึ้นโดยพระราชประสงค์ของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เพื่อพระราชทาน[[สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ]]เป็นที่ประทับ เนื่องด้วยสภาพพื้นที่ของพระตำหนักที่ตั้งอยู่กลางทุ่งประทุมวัน ชาวบ้านจึงนิยมเรียกว่า "วังกลางทุ่ง" หรือ "วังใหม่" ด้านหน้าของพระตำหนักหันไปทางถนนสระปทุม (ถนนพระรามที่ 1 ในปัจจุบัน) ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอังกฤษ โดยนำแบบมาจาก[[พระราชวังวินด์เซอร์]]แห่งสหราชอาณาจักรเป็นต้นแบบ ชาวต่างชาติ ณ [[ราชกรีฑาสโมสร]] จึงเรียกขานกันพระตำหนักแห่งนี้ว่า "วังวินด์เซอร์"
 
พระตำหนักหอวังได้รับการออกแบบเป็นอาคาร 3 ชั้น มีบันไดขึ้นลงตรงกลางอันเป็นรูปแบบของ[[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอธิกกอธิก]]<ref name="หอใน">สำนักงานหอพักนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [http://www.rcu.sa.chula.ac.th/dormitory/index.php?page=history2.php หอวัง] เรียกข้อมูลวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554</ref> ใช้วัสดุก่อสร้างเป็นหินอ่อนนำเข้าจากต่างประเทศทั้งสิ้น หัวเสาได้รับการสลักศิลปะแบบโรมัน หากแต่[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ]] มิได้เสด็จมาประทับ ณ พระราชวังแห่งนี้ด้วยเสด็จทิวงคตในปี พ.ศ. 2437
 
[[ไฟล์:โรงเรียนเกษตราธิการ.gif|thumb|left|250px|พระตำหนักหอวังเมื่อครั้งใช้เป็นสถานที่ตั้งของ[[โรงเรียนเกษตราธิการ]]]]
=== พระตำหนักแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ===
เมื่อมีการสถานปนา[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ขึ้นในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] จึงทรงพระราชทานพื้นที่ของพระตำหนักหอวังและพื้นที่โดยรอบให้แก่มหาวิทยาลัย พระตำหนักแห่งนี้จึงได้ใช้เป็นสถานที่ทำการเรียนการสอนแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|แผนกวิศวกรรมศาสตร์]] [[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล|เตรียมแพทยศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|โรงเรียนกระทรวงเกษตราธิการ]] [[คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|โรงเรียนปรุงยา]] [[คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|แผนกรัฎฐประศาสนศึกษา]] และ[[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|แผนกฝึกหัดครู]]<ref name="หอใน"/>
 
พระตำหนักหอวังเคยใช้เป็นศูนย์กลางทำการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครั้นแยกเป็น 2 วิทยาเขตคือ วิทยาเขตประทุมวัน และวิทยาเขตโรงพยาบาลศิริราช ก่อนที่จะมีการสร้างตึกบัญชาการของมหาวิทยาลัย และได้มีการย้ายที่ทำการสอนของคณะรัฎฐประศาสนศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์มาเรียนที่ตึกบัญชาการ ส่วนพระตำแหนักหอวังเป็นที่ทำการเรียนการสอนของคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จึงได้มีการปรับปรุงพระตำหนักเป็นที่ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ส่วนการปฏิบัติการวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยานั้น ทางมหาวิทยาลัยได้ปลูกโรงเรือน สร้างถังคอนกรีตสำหรับดองศพใกล้พระตำหนัก ส่วนการเรียนการสอนด้านอักษรศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นการฟังคำบรรยาย การศึกษาในห้องสมุด การเรียนการสอนกลุ่มเล็กจึงไม่มีห้องปฏิบัติการ<ref>หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [http://www.memocent.chula.ac.th/article/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C/ วังวินด์เซอร์] เรียกข้อมูลวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554</ref>
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2472 ได้มีการตั้ง[[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|แผนกฝึกหัดครูของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และสถาปนา[[โรงเรียนหอวัง|โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ขึ้นเมื่อวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2472]] เพื่อให้นิสิตแผนกฝึกหัดครู ใช้ฝึกความชำนาญในการสอน และได้ใช้พระตำหนักนี้เป็นที่ทำการสอน จึงได้ใช้ชื่อโรงเรียนว่า "โรงเรียนหอวัง" และเรียกพระตำหนักหลังนี้ว่า "ตึกหอวัง"<ref>[http://www.chula.ac.th/chula/th/alumni/tide.html พระตำหนักวินเซอร์]</ref>