ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Penprapa Wut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pim145 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
== {{ต้องการอ้างอิง ==}}
[[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ]]
[[ไฟล์:Map of mekong delta.jpg|200px|thumb|right|แผนที่แสดงตำแหน่งของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง]]
 
บรรทัด 50:
# ตะกอนกลุ่มที่เกิดการสะสมตัวบริเวณหุบเขาในช่วงน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น โดยตะกอนกลุ่มนี้วางตัวอยู่บนตะกอนกลุ่มแรกโดยพบลักษณะชัดเจนที่หลุมบีที 2 ซึ่งแสดงการตัดเข้ามาของหุบเขา ในช่วงยุคน้ำแข็งยุคสุดท้ายหรือเมื่อประมาณ 18,000 ปีมาแล้ว ซึ่งหลังจากนั้นพบว่าเกิดการละลายของธารน้ำแข็งทำให้มีการเพิ่มขึ้นของน้ำทะเลอย่างรวดเร็วประกอบกับการตัดเข้ามาของหุบเขาในบริเวณนี้ทำให้มีการเพิ่มพื้นที่สะสมตัวของตะกอนจึงพบการสะสมตัวของตะกอนเป็นปริมาณมากซึ่งประกอบด้วยตะกอนทรายขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ตะกอนขนาดทรายแป้ง และตะกอนโคลน บางส่วนพบว่ามีการทำปฏิกิริยากับออกซิเจนเกิดเป็นชั้นบางๆ ของศิลาแลง บางส่วนเกิดการพอกเป็นชั้นของคาร์บอเนต พบการวางตัวของชั้นตะกอนทั้งแบบขนานและแบบทำมุม นอกจากนี้พบซากบรรพชีวินหลายชนิดที่สามารถบ่งบอกสภาพแวดล้อมการสะสมตัวของตะกอนได้เป็นแบบทะเล แบบน้ำกร่อยและแบบน้ำจืด
# ตะกอนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำสมัยโฮโลซีน โดยตะกอนกลุ่มนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมการตกสะสมตัวที่แสดงการพอกของตะกอนในทิศออกสู่ทะเล โดยเราจะพบว่าเม็ดตะกอนมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่อใกล้ระดับพื้นผิว โดยตะกอนที่พบมีขนาดหลากหลาย เช่น ตะกอนทรายขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ตะกอนทรายแป้ง ตะกอนโคลน เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบซากบรรพชีวิน เช่น เศษชิ้นส่วนของเปลือกหอย แพลงตอน ไดอะตอม เป็นต้น ซึ่งจากการศึกษาซากบรรพชีวินเหล่านี้พบว่าแสดงการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมสอดคล้องกับการพอกของตะกอนในทิศออกสู่ทะเล
 
== อ้างอิง ==
*[http://www.dmr.go.th/main.php?filename=rocks กรมทรัพยากรธรณี]
 
[[หมวดหมู่:ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ]]