ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาเหาฉลาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Seeseoul (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Seeseoul (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการสรุป}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Taxobox
| name = ปลาเหาฉลาม
| image = spearfish remora.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = ''[[ปลาติด'']]
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
เส้น 13 ⟶ 11:
| superfamilia = [[Percoidea]]
| familia = '''Echeneidae'''
| subdivision_ranks = สกุล[[Genus|Genera]]
| subdivision =
*''[[Echeneis (genus)|Echeneis]]''<br />
*''[[Phtheirichthys]]''<br />
*''[[Remora (genus)|Remora]]''<br />
*''[[Remorina]]''<br />
See text for species.
| synonyms = Echeneididae
}}
 
==ลักษณะทั่วไป==
ลำตัวยาว หัวเรียวแหลม ด้านบนแบนราบมี[http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B0 อวัยวะ]ที่ใช้สำหรับดูดติด ( sucking disc ) ซึ่งพัฒนามาจากครีบหลัง คอดหางเล็กแต่แข็งแรงทำให้ว่ายน้ำได้ดี ถึงแม้ว่าจะชอบเกาะติดไปกับปลาอื่นก้อตามมีแถบสีดำขนาดใหญ่พาดตามยาวลำตัว หลังและท้องมีสีเทาเข้มลักษณะคล้ายกับปลาช่อนทะเลที่ชอบว่ายตามปลาขนาดใหญ่เช่นกันความแตกต่างของปลาสองชนิดนี้อยู่ตรงที่ด้านบนของหัวปลาช่อนทะเลไม่มีอวัยวะสำหรับดูดติด
เส้น 31 ⟶ 29:
พบแพร่กระจายในเขตร้อนทั่วโลก จัดเป็นปลาเหาฉลามที่พบได้ง่าย และมีการแพร่กระจายกว้างที่สุด ในประเทศไทย พบได้ทั้งสองฝั่งทะเล แต่จะพบเห็นได้บ่อยบริเวณหมู่เกาะสิมิลัน และกองหินลอเชลิว ซึ่งเป็นบริเวณที่พบปลาขนาดใหญ่ เช่น ฉลามวาฬ หรือกระเบนราหู ฝั่งอ่าวไทยพบบ้างบริเวณเกาะเต่า จังหวัดสุราษฏร์ธานีติด
 
[[Image:Remora_Belize_Reef.jpg|Remora shows its sucker-like organ]]
|Image:Nurse shark with remoras.jpg|[[Nurse shark]] with remoras attending
|Image:Manta-ray_australia.jpg|[[Manta ray]] with remoras]]
 
{{ต้องการ==อ้างอิง}}==
หนังสือปลาทะเลไทย
 
[[หมวดหมู่:ปลา]]
{{โครงสัตว์}}
 
[[en:Sharksucker]]