ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาน้ำจืด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Giant Barb.jpg|thumb|250px|[[ปลากระโห้]] (''Catlocarpio siamensis'') เป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) ซึ่งปลาใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]นี้เป็นปลาน้ำจืดเสียส่วนใหญ่ทั้งหมด]]
'''ปลาน้ำจืด''' หมายถึง [[ปลา]]ที่อาศัยอยู่ได้ในเฉพาะแหล่งน้ำที่เป็น[[น้ำจืด]] คือ น้ำที่มีปริมาณ[[เกลือ]]ละลายน้อยกว่าร้อยละ 0.5 เท่านั้น โดยอาศัยอยู่ในแม่น้ำ คลอง [[พื้นที่ชุ่มน้ำ]]ต่าง ๆ ที่เป็นน้ำจืด เช่น [[ทะเลสาบน้ำจืด]] [[บึง]] หนอง หรือลำธาร[[น้ำตก]]บนภูเขาหรือใน[[ป่าดิบ]] หรือแม้กระทั่งใน[[ป่าชายเลน]]หรือ[[ปากแม่น้ำ]]ที่ติดกับ[[ชายฝั่ง]]ทะเลที่เป็น[[น้ำกร่อย]]แต่มิใช่เป็น[[น้ำเค็ม]]
 
โดยโครงสร้างของปลาน้ำจืดนั้น จะมีแรงดัน[[ออสโมซิส]]ในเลือดอยู่ในระดับสูงกว่าน้ำที่อาศัยอยู่มาก จึงทำให้มีการไหลของน้ำเข้าสู่ร่างกายและ[[เกลือแร่]]แพร่ออกสู่น้ำภายนอกได้ง่าย โดยไม่ให้น้ำซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายและออกจากร่างกายได้ แต่ทว่ากระบวนการดังกล่าวก็ยังไม่ดีพอ เพราะเหงือกซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญที่ปลาใช้หายใจมีน้ำไหลผ่าน เมื่อมีเหงือก น้ำก็มีโอกาสไหลผ่านเข้าสู่ภายในร่างกายได้ จึงกำจัดน้ำส่วนที่เกินที่ถูกดูดเข้าสู่ร่างกายออกสู่นอกร่างกายได้วิธีการขับถ่ายนำเอา[[ปัสสาวะ]]ซึ่งมีความดันออสโมซิสต่ำกว่าเลือดออกสู่ภายนอกร่างกาย