ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟีนาเซติน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Woojindo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Woojindo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 62:
ฟินาซีตินถูกใช้อย่างแพร่หลายจนถึงประมาณยุคแปดสิบของศตวรรษที่ 20 โดยใช้ในรูปแบบของ '''"A.P.C."''' หรือ [[aspirin]]-phenacetin-[[caffeine]] [[compound analgesic]]ซึ่งบรรเทาไข้และแก้ปวด อย่างไรก็ตาม [[องค์การอาหารและยาสหรัฐ]] ได้สั่งห้ามจำหน่ายและเรียกคืนยาที่มีส่วนผสมของฟินาซีตินในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1983 โดยให้เหตุผลว่าเป็น[[สารก่อมะเร็ง]] และทำลายไต (ตามประกาศที่ 5, 1983 (48 FR 45466))ยาหลายยี่ห้อที่เคยมีฟินาซีตินผสมอยู่ก็เปลี่ยนไปใช้สารตัวอื่นแทน ยายี่ห้อสำคัญที่เคยมีฟินาซีตินคือ[[Saridon]]ของบริษัทยา[[Hoffmann-La Roche|Roche]] ซึ่งปรับปรุงสูตรใหม่ใน ค.ศ.1983 ให้มี[[โปรปิฟินาโซน]] [[พาราเซตามอล]] และ [[คาเฟอีน]] ยา[[Coricidin]]ก็ได้แก้สูตรยาใหม่เพื่อให้ไม่มีฟินาซีตินเช่นกัน พาราเซตามอลเป็นสารเมทอบอไลท์ของฟินาซีตินซึ่งมีสรรพคุณ แก้ปวดและลดไข้ แต่การทำสูตรยาใหม่ทำให้ไม่มีปรากฏว่ามีความความเสี่ยงต่อการก่อมะเร็งเหมือนฟินาซีติน
 
Phenacetin is now being used as a ฟินาซีตินในปัจจุบันถูกใชเป็นยาผสมใน[[cutting agentโคเคน]] to adulterate ใน[[cocaineสหราชอาณาจักร]] in the [[United_Kingdom|UK]], owing to the similar physical features of the two drugs. โดยอ้างว่ามีลักษณะทางกายภาพคล้ายคลีงกับยาเสพติดดังกล่าว<ref>{{cite news | publisher = [[BBC News]] | url = http://news.bbc.co.uk/2/hi/uk_news/6178026.stm | title = Cancer chemical in street cocaine | date= 23 November 2006}}</ref>
 
== อ้างอิง ==