ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิวัฒนาการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Blueocynia (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Blueocynia (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12:
{{บทความหลัก|ปฐมบทพันธุกรรม}}
[[ไฟล์:ADN static.png|thumb|right|200px|โครงสร้าง[[ดีเอ็นเอ]] [[นิวคลีโอเบส|เบส]]อยู่ตำแหน่งตรงกลาง ล้อมรอบด้วย[[หมู่ฟอสเฟต]] และน้ำตาล[[ดีออกซีไรโบส]] ต่อกันเป็นสายทรง[[เกลียวคู่]]]]
วิวัฒนาการในสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนยีนระหว่างกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งปรากฏเป็นลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต ในมนุษย์ ตัวอย่างเช่น[[ม่านตา|สีของม่านตา]]เป็นหนึ่งในลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถ่ายทอดได้ โดยแต่ละคนก็จะได้รับลักษณะดังกล่าวจากบิดามารดา<ref>{{cite journal |author=Sturm RA, Frudakis TN |title=Eye colour: portals into pigmentation genes and ancestry |journal=Trends Genet. |volume=20 |issue=8 |pages=327-32 |year=2004 |pmid=15262401 |doi=10.1016/j.tig.2004.06.010}}</ref> การถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวควบคุมโดย[[ยีน]] ยีนจะอยู่เป็นคู่บนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต และแสดงออกลักษณะทางพันธุกรรมเรียกว่า "[[ลักษณะทางพันธุกรรม|จีโนไทป์]]" (genotype)<ref name=Pearson_2006>{{cite journal |author=Pearson H |title=Genetics: what is a gene? |journal=Nature |volume=441 |issue=7092 |pages=398-401 |year=2006 |pmid=16724031 |doi=10.1038/441398a}}</ref>
 
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สร้างขึ้นอันประกอบด้วยลักษณะทางพันธุกรรม (จีโนไทป์) และพฤติกรรมอันเกิดจากการหล่อล้อมของสิ่งแวดล้อม รวมกันเรียกว่า "[[ฟีโนไทป์]]" (phenotype) ลักษณะที่สิ่งมีชีวิตแสดงออกก็จะการปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างลักษณะทางพันธุกรรม (จีโนไทป์) และสิ่งแวดล้อม<ref>{{cite journal |author=Peaston AE, Whitelaw E |title=Epigenetics and phenotypic variation in mammals |journal=Mamm. Genome |volume=17 |issue=5 |pages=365-74 |year=2006 |pmid=16688527 |doi=10.1007/s00335-005-0180-2}}</ref> ผลลัพธ์ก็คือ ไม่ใช่ทุกลักษณะของสิ่งมีชีวิต (ฟีโนไทป์) ที่จะสามารถถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวสู่ลูกหลานได้ ตัวอย่างเช่น ลักษณะสีผิวของคนที่แดดส่องจนกลายเป็นสีแทน เป็นลักษณะที่เกิดร่วมกันระหว่างลักษณะพันธุกรรมแต่ละบุคคล (จีโนไทป์) ร่วมกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นลักษณะผิวสีแทนดังกล่าวจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังรุ่นลูกได้ อย่างไรก็ตาม ผิวของคนทั่วไปก็มีปฏิกิริยาต่อแสงแดดแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความแตกต่างของ[[จีโนไทป์]] อย่างไรก็ดีตัวอย่างดังกล่าวไม่มีผลต่อคน[[ผิวเผือก]] เนื่องจากคนเหล่านี้ผิวหนังจะไม่มีปฏิกิริยากับแสงแดด<ref>{{cite journal |author=Oetting WS, Brilliant MH, King RA |title=The clinical spectrum of albinism in humans |journal=Molecular medicine today |volume=2 |issue=8 |pages=330-35 |year=1996 |pmid=8796918 |doi=10.1016/1357-4310(96)81798-9}}</ref>