ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดนิวคลีอิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Azoma (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:ADN animation.gif|thumb|right|220px|โครงสร้างของดีเอ็นเอเป็นเกลียวคู่]]
'''กรดนิวคลีอิก''' ({{lang-en|nucleic acid}}) เป็น[[โพลิเมอร์]]ของ[[นิวคลีโอไทด์]] ที่ต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ ( phosphodiester bond ) โดยที่หมู่ของฟอสเฟตที่เป็นส่วนประกอบของพันธะจะเชื่อมโยงระหว่างหมู่ ไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 5' ของนิวคลีโอไทด์โมเลกุลหนึ่งกับหมู่ไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 3' ในโมเลกุลถัดไป จึงทำให้นิวคลีโอไทด์มีโครงสร้างของสันหลัง ( backbone ) เป็นฟอสเฟตกับน้ำตาลและมีแขนงข้างเป็นเบส อาจจำแนกได้เป็น DNA และ RNA
 
== DNA ==
{{บทความหลัก|ดีเอ็นเอ}}
'''DNA''' ({{lang-en|deoxyribonucleic acid}}) พบใน[[นิวเคลียส]]ของ[[เซลล์]] เป็นสารพันธุกรรม ในธรรมชาติส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปเกลียวคู่ (Double standed DNA) DNA ที่อยู่ในเซลล์มีจำนวนมากมักมีโครโมโซมเรียงตัวกันเป็นคู่หรือดิพลอยด์
โว้ยยย (อย่ากรู้ว่า กรดนิวคลิอิกพบในส่วนใดของเซลล์ รู้แล้วตอบให้หน่อยนะ (ส่งมาที:thapakorn_narin@hotmail.com) ขอบคุณคนส่ง)
 
==== ขนาดและรูปร่าง ====
บรรทัด 22:
 
==== สมบัติเกี่ยวกับการเซดิเมนต์ ====
ในสารละลายที่เป็นกรด ( pH = 3 ) ในแฮลกอฮอล์หรือในตัวทำละลายที่ไม่มีขั้ว ( nonpolar solvent ) DNA สามารถตกตะกอนได้เนื่องจากโมเลกุลมีขนาดใหญ่มากเมื่อไปทำการเซดิเมนต์ โดยใช้แรงเหวี่ยงสูงๆ ในสารละลายที่มีความหนาแน่นต่างกัน (density gradient) สามารถหาความหนาแน่นของ DNA ได้ ความหนาแน่นที่ได้จากวิธีนี้ เรียกว่าความหนาแน่นสำหรับการลอยตัว ( buoyant density ) จากการทดลองพบว่า DNA เส้นเดี่ยวมีความหนาแน่นมากกว่า DNA เส้นคู่ และ DNA ที่มีปริมาณเบสกวานีนกับไซโตซีนสูงมีค่าความหนาแน่นสำหรับการลอยตัวสูงด้วย เนื่องจากเพราะ กวานีนกับไซโทซีนแต่ละคู่ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะไฮโดรเจนถึงสามพันธะ ขณะที่ไทมีนและอะดีนีนแต่ละคู่ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโฮโดรเจนเพียงสองพันธะ
 
==== สมบัติเกี่ยวกับการดูดกลืนแสง และอุณหภูมิสำหรับการหลอมของ DNA ====
บรรทัด 31:
== RNA ==
{{บทความหลัก|อาร์เอ็นเอ}}
RNA ({{lang-en|ribonucleic acid}}} พบในนิวเคลียสและ[[ไซโตพลาสซึม]]ของสิ่งมีชีวิต มีหน้าที่คือ รับข้อมูลทางพันธุกรรมจาก DNA เพื่อนำไปในสังเคราะห์[[โปรตีน]]รวมทั้ง[[เอนไซม์]]และ[[ฮอร์โมน]]ต่างๆภายในเซลล์ เป็นโพลีนิวคลีโทไทด์ที่ประกอบด้วย ไรโบนิวคลีโอไทด์หลายๆ หน่วยมาต่อกันด้วยพันธะ 3',5'- ฟอสโฟไดเอสเทอร์ ขนาดของ RNA สั้นกว่าโมเลกุลของ DNA มาก RNA ที่พบส่วนมากในเซลล์ส่วนใหญ่เป็นชนิดสายเดี่ยว ( singele standed RNA ) เฉพาะในไวรัสบางชนิดเท่านั้นที่อาจพบ RNA สายคู่ สายกรดนิวคลีอิกสามารถพันกันเป็นเกลียวโดยเฉพาะสำหรับดีเอ็นเอ สายทั้งสองเกาะกันอยู่ด้วยคู่เบสที่เฉพาะเจาะจง คือ [[อะนีดีน]]กับ[[ยูราซีน]] และ [[กวานีน]]กับ[[ไซโตซิน]]
 
==== ชนิดของ RNA ====