ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารต้านอนุมูลอิสระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: vi:Chất chống ôxy hóa; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
[[Imageไฟล์:Glutathione-3D3D-vdW.png|thumb|right|300px300px|Space-filling model of the antioxidant [[metabolomics|metabolite]] [[glutathione]]. The yellow sphere is the [[redox|redox-active]] sulfur atom that provides antioxidant activity, while the red, blue, white, and dark grey spheres represent oxygen, nitrogen, hydrogen, and carbon atoms, respectively.]]
'''สารต้านอนุมูลอิสระ''' คือโมเลกุลของสารที่สามารถจับกับตัวรับและสามารถยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันของโมเลกุลสารอื่นๆได้ ปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวเนื่องกับการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนจากสารหนึ่งไปยังตัวออกซิไดซ์ ปฏิกิรยาดังกล่าวสามารถให้ผลิตภัณฑ์เป็นสารอนุมูลอิสระ (free radical) ซึ่งสารอนุมูลอิสระเหล่านี้จะเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่และทำลายเซลล์ของร่างกาย สารต้านอนุมูลอิสระจะเข้ายุติปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านี้ด้วยการเข้าจับกับสารอนุมูลอิสระและยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยถูกออกซิไดซ์ ดังนั้นสารต้านอนุมูลอิสระจึงถือเป็นตัวรีดิวซ์ อาทิ [[ไธออล]] [[กรดแอสคอร์บิก]] และ[[โพลีฟีนอล]]<ref name="Sies" />
 
บรรทัด 15:
ความเป็นไปได้ของกลไกการเกิดปฏิกิริยาของสารต้านอนุมูลอิสระค้นพบครั้งแรกเมื่อได้รับการยอมรับว่าสารที่มีฤทธิ์ป้องกันการเกิดออกซิเดชันมีโอกาสที่จะเป็นหนึ่งที่เป็นตัวออกซิไดซ์อย่างง่ายได้<ref>Moreau and Dufraisse, (1922) ''Comptes Rendus des Séances et Mémoires de la Société de Biologie'', '''86''', 321.</ref> การวิจัยว่า[[วิตามินอี]]สามารถป้องกันการเกิดกระบวนการเพอรอกซิเดชันของไขมันนำไปสู่การพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารต้านอนุมูลอิสระเป็นสารที่ป้องกันโดยลดการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน อาทิ[[การกำจัด (เคมี)|การกำจัด]]รีแอกทีฟออกซิเจนก่อนที่จะสามารถทำลายเซลล์ได้<ref>{{cite journal |author=Wolf G |title=The discovery of the antioxidant function of vitamin E: the contribution of Henry A. Mattill |url=http://jn.nutrition.org/cgi/content/full/135/3/363 |journal=J Nutr |volume=135 |issue=3 |pages=363–6 |date=1 March 2005|pmid=15735064 }}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
บรรทัด 22:
[[หมวดหมู่:เภสัชวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ชีวเคมี]]
 
 
{{Link FA|en}}
เส้น 70 ⟶ 69:
[[tr:Antioksidan]]
[[uk:Антиоксиданти]]
[[vi:Chất chống oxiôxy hóa]]
[[zh:抗氧化剂]]