ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Image:LegalSystemsOfTheWorldMap.png|thumb|350px|[[ระบบกฎหมาย]]ทั่วโลก
'''ซีวิลลอว์''' (หรือ '''กฎหมายพลเรือน''') เป็น[[ระบบกฎหมาย]]ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก[[กฎหมายโรมัน]] ลักษณะพื้นฐานของซีวิลลอว์ คือ เป็นกฎหมายซึ่งรวบรวมขึ้น จัดเป็นระบบ และมิได้ตัดสินโดย[[ผู้พิพากษา]] (ดังเช่นใน[[คอมมอนลอว์]]) ตามกรอบความคิด ซีวิลลอว์เป็นกลุ่มของแนวคิดและระบบกฎหมายซึ่งได้รับมาจาก[[ประมวลกฎหมายจัสติเนียน]]อย่างมาก แต่ก็ซ้อนทับด้วยวิถีปฏิบัติแบบเยอรมัน เกี่ยวกับสงฆ์ ระบบศักดินา และภายในท้องถิ่นเอง เช่นเดียวกับการใช้หลักการ อย่างเช่น [[กฎหมายธรรมชาติ]] การจัดทำประมวลกฎหมาย และปฏิฐานนิยมในทางนิติบัญญัติ ซีวิลลอว์ดำเนินจากนัยนามธรรม วางระเบียบหลักการทั่วไป และแบ่งแยกกฎระเบียบสารบัญญัติออกจากระเบียบพิจารณาความ ระบบกฎหมายดังกล่าวได้ยึดถือฝ่ายนิติบัญญัติเป็นแหล่งที่มาหลักของกฎหมาย และระบบศาลมักจะใช้วิธีการสอบสวน ซึ่งไม่ยึดติดกับการพิจารณาคดีในอดีต และประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ตุลาการซึ่งได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษโดยมีความสามารถจำกัดที่จะตีความกฎหมาย
{{legend|#4ac|ซีวิลลอว์}}
ในระบบนี้จะให้ความสำคัญกับกฎหมายลายลักษรณ์เป็นอันดับแรก เมื่อมีข้อเท็จจริงเกิดขึ้น ก็จะไปดูว่ามีกฎหมายลายลักษณ์อักษรบัญญัติไว้หรือป่าวถ้ามีก็นำกฎหมายลายลักษรณือักษรที่บัญญัติไว้ให้นำมาปรับกับข้อเท็จจริงเหล่า หากข้อเท็จจริงดังกล่าวไม่มีให้ไปดูที่จารีตประเพณ๊ จ่รรีตประเพณีก็คือ ประเพณีที่ประพฤติและปฏิบัติกันมานมนาน และไม่ขัดต่อศีลธรรม ถ้าไม่ปฎิบัติตามก็ถือว่าผิด ดังนั้นในระบบนี้ไม่ยึดหลักคำพิพากษาเดิม จะต้องดูตัวบทก่อนแล้วถึงจะตัดสินคดีได้
{{legend|#c76|[[คอมมอนลอว์]]}}
{{legend|#975|สองระบบ (ทั้งซีวิลลอว์และคอมมอนลอว์)}}
{{legend|#363|กฎหมายขนบทำเนียม}}
{{legend|#fb3|[[กฎหมายชาริอะห์]]}}
]]
 
'''ซีวิลลอว์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Civil law, หรือ '''กฎหมายพลเรือน''') เป็น[[ระบบกฎหมาย]]ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก[[กฎหมายโรมัน]] ลักษณะพื้นฐานของซีวิลลอว์คือ เป็นกฎหมายซึ่งรวบรวมขึ้น จัดเป็นระบบ และมิได้ตัดสินตามแนว[[คำพิพากษา]]ของศาล ระบบกฎหมายดังกล่าวจึงได้ยึดถือฝ่าย[[นิติบัญญัติ]]เป็นแหล่งที่มาหลักของกฎหมาย และระบบศาลมักจะใช้วิธีการสอบสวน ซึ่งไม่ยึดติดกับการพิจารณาคดีในอดีต (ดังเช่นใน[[คอมมอนลอว์]]) และประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ตุลาการซึ่งได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษโดยมีความสามารถจำกัดที่จะตีความกฎหมาย
 
'''ซีวิลลอว์''' (หรือ '''กฎหมายพลเรือน''') เป็น[[ระบบกฎหมาย]]ซึ่งได้รับอิทธิพลจาก[[กฎหมายโรมัน]] ลักษณะพื้นฐานของซีวิลลอว์ คือ เป็นกฎหมายซึ่งรวบรวมขึ้น จัดเป็นระบบ และมิได้ตัดสินโดย[[ผู้พิพากษา]] (ดังเช่นใน[[คอมมอนลอว์]]) ตามกรอบความคิด ซีวิลลอว์เป็นกลุ่มของแนวคิดและระบบกฎหมายซึ่งได้รับมาจาก[[ประมวลกฎหมายจัสติเนียน]]อย่างมาก แต่ก็ซ้อนทับด้วยวิถีปฏิบัติแบบเยอรมัน เกี่ยวกับสงฆ์ ระบบศักดินา และภายในท้องถิ่นเอง เช่นเดียวกับการใช้หลักการ อย่างเช่น [[กฎหมายธรรมชาติ]] การจัดทำ[[ประมวลกฎหมาย]] และปฏิฐานนิยมในทาง[[นิติบัญญัติ]] ซีวิลลอว์ดำเนินจากนัยนามธรรม วางระเบียบหลักการทั่วไป และแบ่งแยกกฎระเบียบสารบัญญัติออกจากระเบียบพิจารณาความ ระบบกฎหมายดังกล่าวได้ยึดถือฝ่ายนิติบัญญัติเป็นแหล่งที่มาหลักของกฎหมาย และระบบศาลมักจะใช้วิธีการสอบสวน ซึ่งไม่ยึดติดกับการพิจารณาคดีในอดีต และประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ตุลาการซึ่งได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษโดยมีความสามารถจำกัดที่จะตีความกฎหมาย
 
ในระบบนี้จะให้ความสำคัญกับกฎหมายลายลักษรณ์ลายลักษณ์อักษรเป็นอันดับแรก เมื่อมีข้อเท็จจริงเกิดปรากฎขึ้น ก็จะไปดูพิจารณาก่อนว่ามีกฎหมายลายลักษณ์อักษรบัญญัติไว้หรือป่าวไม่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงดังกล่าว ถ้ามีก็จะนำกฎหมายลายลักษรณือักษรที่บัญญัติไว้ให้นั้นนำมาปรับใช้กับข้อเท็จจริงเหล่า หากข้อเท็จจริงดังกล่าวไม่มีกฎหมายให้ไปดูที่พิจารณาจารีตประเพณ๊ประเพณีแห่งท้องถิ่นนั้นๆ จ่รรีตจารีตประเพณีก็คือ ประเพณีที่ประพฤติและปฏิบัติกันมานมนาน และไม่ขัดต่อศีลธรรม ถ้าไม่ปฎิบัติตามก็ถือว่าผิด และถ้าไม่มีจารีตประเพณีที่เกี่ยวข้อง กฎหมายจะอนุโลมให้ใช้บทบัญญัติที่ใกล้เคียงอย่างยิ่งก่อน จนในที่สุดหากยังไม่มีบทกฎหมายที่ใเกล้เคียงอย่างยิ่งอีก ก็จะให้นำ[[หลักกฎหมายทั่วไป]]มาปรับใช้ ดังนั้นในระบบนี้จึงไม่ยึดหลักคำพิพากษาเดิม จะต้องดูตัวบทก่อนแล้วถึงจะตัดสินคดีได้ <ref> http://law.longdo.com/law/714/# มาตรา 4 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แห่งราชอาณาจักรไทย</ref>
 
[[หมวดหมู่:ระบบซีวิลลอว์]]
{{โครงกฎหมาย}}
เส้น 24 ⟶ 36:
[[simple:Civil law]]
[[sh:Građansko pravo]]
[[th:ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)]]
[[fi:Säädösoikeus]]
[[sv:Civil law]]