ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าราชการฝ่ายตุลาการ (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: az:Hakim (hüquq)
Clumsy (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้ง{{โปร}} + เอาลิงก์ไปตปท.ออก
บรรทัด 1:
{{โปร}}
 
[[ไฟล์:KinginJudge.jpg|thumb|220px|right|[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]ทรงเครื่องแบบข้าราชการตุลาการในฐานะที่ทรงเป็นที่มาแห่งความยุติธรรมตามความเชื่อโบราณ]]
 
เส้น 46 ⟶ 48:
ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีแต่โบราณจะมีเจ้าพนักงานสองฝ่าย คือ '''"ตระลาการ"''' หรือ'''"ตุลาการ"''' มีหน้าที่พิจารณาไต่สวนหาข้อเท็จจริง และ '''"ผู้พิพากษา"''' มีหน้าที่ให้คำพิพากษาเมื่อได้ข้อเท็จจริงจากตุลาการแล้ว เมื่อมีการเลิกใช้กฎหมายตราสามดวงโดยปริยาย ฝ่ายตุลาการก็สูญสิ้นไปด้วย ผู้พิพากษาจึงต้องปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการอย่างโบราณอีกหน้าที่หนึ่ง อย่างไรก็ดี ต่อมาภายหลังกลับรื้อคำว่า "ตระลาการ" หรือ "ตุลาการ" ขึ้นมาใช้อีก โดยให้ความหมายว่าผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีเหมือนอย่างผู้พิพากษา จนกระทั่งภายหลังมีกฎหมายว่าด้วยข้าราชการตุลาการขึ้น จึงเป็นที่ทำให้เข้าใจอย่างตายตัวว่า ในบัดนี้ความหมายของคำว่า "ผู้พิพากษา" กับ "ตุลาการ" เป็นอย่างเดียวกัน<ref>ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์). (2549, มีนาคม). "ตระลาการ". '''พจนานุกรมกฎหมาย.''' กรุงเทพฯ : วิญญูชน. หน้า 128-129.</ref> จนกระทั่งต่อมามีการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครองขึ้น โดยโอนอำนาจของศาลยุติธรรมที่เกี่ยวกับคดีปกครองและการตีความรัฐธรรมนูญไปให้กับศาลที่จัดตั้งใหม่ทั้งสองประเภทดังกล่าว จึงมีการกำหนดในกฎหมายอย่างชัดเจนทำให้เห็นได้ว่าตำแหน่ง "ผู้พิพากษา" นั้นจะใช้กับศาลยุติธรรมเท่านั้น แต่ศาล
รัฐธรรมนูญกับศาลปกครองนั้น จะเรียกว่า "ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลปกครอง"
== ตุลาการในปัจจุบัน ==
=== ตุลาการของไทย ===
==== ฝ่าย[[ศาลยุติธรรม]] ====
ตำแหน่งข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมมีดังต่อไปนี้ตามลำดับสูงลงไป
 
# ประธานศาลฎีกา <small>({{lang-en|President of the Supreme Court}})</small>
# รองประธานศาลฎีกา <small>({{lang-en|Vice President of the Supreme Court}})</small>
# ประธานแผนกคดี...(มี10แผนก)ในศาลฎีกา
# ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา <small>({{lang-en|Chief of the Supreme Court's Bench}})</small>
# ผู้พิพากษาศาลฎีกา <small>({{lang-en|Supreme Court's judge}})</small>
# ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกา <small>({{lang-en|senior judge of the Supreme Court}})</small>
# ประธานศาลอุทธรณ์ <small>({{lang-en|President of the Court of Appeal}})</small>
# ประธานศาลอุทธรณ์ภาค <small>({{lang-en|President of the Regional Appealate Court}})</small>
# รองประธานศาลอุทธรณ์ <small>({{lang-en|Vice President of the Court of Appeal}})</small>
# รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค <small>({{lang-en|Vice President of the Regional Appealate Court}})</small>
# ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์ <small>({{lang-en|Chief of the Appeal Court's Bench}})</small>
# ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์ภาค <small>({{lang-en|Chief of the Regional Appealate Court's Bench}})</small>
# ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ <small>({{lang-en|Appeal Court's judge}})</small>
# ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค <small>({{lang-en|Regional Appeal Court's judge}})</small>
# ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์ <small>({{lang-en|Appeal Court's senior judge}})</small>
# อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น <small>({{lang-en|Chief of the Trial Court's judges}})</small>
# อธิบดีผู้พิพากษาภาค <small>({{lang-en|Chief of the regional judges}})</small>
# รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น <small>({{lang-en|Deputy Chief of the Trial Court's judges}})</small>
# รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค <small>({{lang-en|Deputy Chief of the regional judges}})</small>
# ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล <small>({{lang-en|Chief of the Court}})</small>
# ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลชั้นต้น <small>({{lang-en|Chief of the Trial Court's Bench}})</small>
# ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น <small>({{lang-en|Trial Court's judge}})</small>
# ผู้พิพากษาประจำศาล <small>({{lang-en|juridicial judge}})</small>
# ผู้ช่วยผู้พิพากษา <small>({{lang-en|juridicial assistant}})</small>
# ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลชั้นต้น <small>({{lang-en|Trial Court's senior judge}})</small>
 
===== การได้มาและการให้พ้นจากตำแหน่งซึ่งข้าราชการตุลาการ =====
เส้น 121 ⟶ 93:
{{ราชการ}}
 
{{โครงกฎหมาย}}
[[หมวดหมู่:ข้าราชการฝ่ายตุลาการชาวไทย| ]]
[[หมวดหมู่:นิติศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:กฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:รัฐศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:การเมืองการปกครอง]]
 
[[หมวดหมู่:ข้าราชการฝ่ายตุลาการชาวไทย| ข้าราชการฝ่ายตุลาการชาวไทย]]
[[ar:قاض]]
[[az:Hakim (hüquq)]]
[[bg:Съдия]]
[[bo:ཁྲིམས་དཔོན།]]
[[ca:Jutge]]
[[cs:Soudce]]
[[da:Dommer]]
[[de:Richter]]
[[en:Judge]]
[[eo:Juĝisto]]
[[es:Juez]]
[[fi:Käräjätuomari]]
[[fr:Juge]]
[[fy:Rjochter]]
[[gl:Xuíz]]
[[he:שופט]]
[[hr:Sudac]]
[[ht:Jij]]
[[hu:Bíró (igazságszolgáltatás)]]
[[id:Juri]]
[[it:Giudice]]
[[ja:裁判官]]
[[ko:판사]]
[[la:Iudex]]
[[lt:Teisėjas]]
[[ms:Hakim]]
[[nl:Rechter]]
[[nn:Dommar i retten]]
[[no:Dommer]]
[[oc:Jutge]]
[[pl:Sędzia]]
[[pt:Juiz]]
[[qu:Taripakuq]]
[[ru:Судья]]
[[simple:Judge]]
[[sl:Sodnik]]
[[sv:Domare]]
[[tr:Hâkim (hukuk)]]
[[uk:Суддя]]
[[ur:قاضی]]
[[yi:ריכטער]]
[[zh:法官]]