ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุการณ์ก๊อด'ส อาร์มี่บุกยึดสถานทูตพม่า พ.ศ. 2542 และโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี พ.ศ. 2543"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
หลังจากนั้น สื่อมวลชนได้ต่างพากันเสนอแนะและวิพากษ์วิจารณ์ถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นี้อย่างกว้างขวาง ทำให้ทราบว่า กองกำลังก๊อด อาร์มี่ นี้ มีผู้นำเป็นเด็กผู้ชาย[[ฝาแฝด]]อายุเพียง 12 ขวบ ชื่อ '''อาร์เธอร์''' กับ '''จอห์นนี่ ฮะทู''' เป็นเด็กแฝดที่มี[[ลิ้น]][[สีดำ]] ซึ่งเป็นผู้มีบุญตามคติความเชื่อของชาวกะเหรี่ยงและชาวพม่า และที่พำนักของนักศึกษาพม่าในประเทศไทย มีศูนย์ใหญ่ที่สุด ชื่อ '''ศูนย์มณีลอย''' ที่[[อำเภอสวนผึ้ง]] จังหวัดราชบุรี มีนักศึกษาที่หลบหนีจากเหตุการณ์ทางการเมืองในประเทศพม่ามาพำนักยังศูนย์นี้จำนวนมาก ซึ่งทางรัฐบาลจะต้องให้ความดูแลและรอบคอบทางด้านความปลอดภัยมากกว่านี้
 
จากนั้น ในเช้า[[วันจันทร์]]ที่ [[24 มกราคม]] [[พ.ศ. 2543]] กองกำลังก๊อด อาร์มี่ กลุ่มเดิมที่นำโดย นายจอนนี่ จำนวน 10 คน ได้ก่อเหตุขึ้นอีกครั้งและอุกอาจยิ่งกว่าเดิม ด้วยการปลอมตัวเป็นผู้โดยสารนั่งรถประจำทางสายสวนผึ้ง-ราชบุรี แล้วใช้[[เอ็ม- 16|ปืนเอ็ม-16]] และระเบิดจี้คนขับรถให้พาไปยัง[[โรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี]] เมื่อไปถึงได้บุกยึดโรงพยาบาล จับแพทย์ พยาบาล และคนไข้ประมาณ 1,000 คน เป็นตัวประกัน
 
จากนั้น เจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยพยายามเข้าไปช่วยเหลือตัวประกัน แต่ไม่สำเร็จ เนื่องจากผู้ก่อการได้วางระเบิดดักไว้ที่ลาดจอดรถทั้งด้านหน้าและด้านหลังโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยจึงเปลี่ยนมาใช้วิธีเจรจาต่อรองจนทราบว่า กลุ่มก๊อด อาร์มี่ ต้องการนำตัวแพทย์ และพยาบาลไปรักษาทหารกะเหรี่ยงที่ได้รับบาดเจ็บจากการถูกทหารรัฐบาลพม่าปราบปรามอย่างหนัก การเจรจาผ่านไปเกือบ 20 ชั่วโมง กลุ่มก๊อด อาร์มี่ได้ร้องขอเครื่องมือสื่อสารและเฮลิคอปเตอร์ 2 ลำ ให้พากลับไปส่งยังชายแดน ที่อำเภอสวนผึ้ง