ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคปพาโดเชีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: br:Kappadokia
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: os:Каппадоки; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
{| class="toccolours" border="1" cellpadding="2" cellspacing="2" style="float: right; margin: 0 0 1em 1em; width: 250px; border-collapse: collapse; font-size: 95%;"
|-
| colspan="2" style="margin-left: inherit; background:#DEB887; text-align:center; font-size: medium;" |ภูมิภาคโบราณแห่งอานาโตเลีย<br />'''คาพะโดเคีย'''
|- align="center"
| colspan="2" | <div style="position:relative; margin: 0 0 0 0; border-collapse: collapse; border="1" cellpadding="0">[[Fileไฟล์:Cappadocia Aktepe Panorama.JPG|300px300px]]</div>
|- style="vertical-align: top;"
| colspan="2" | ภูเขา Aktepe ไม่ไกลจาก[[เกอเรเม]]และภูมิภาคเขาหินแห่งคาพะโดเคีย ([[มรดกโลก]][[ยูเนสโก]])
บรรทัด 21:
|- align="center"
| colspan="2" | <div style="position:relative; margin: 0 0 0 0; border-collapse: collapse; border="1" cellpadding="0">
[[Fileไฟล์:Anatolia Ancient Regions base.svg|300px300px|Location of Cappadocia in Anatolia]]</div>
|- style="vertical-align: top;"
<!--| colspan=2 | <small>{{{footnotes}}}</small> -->
|}
{{Infobox World Heritage Site
| WHS = [[Göreme|อุทยานแห่งชาติเกอเรเม]] และ<br />ภูมิภาคเขาหินแห่งคาพะโดเคีย
| Image =
| State Party = {{TUR}}
บรรทัด 43:
ในสมัยของ[[เฮโรโดทัส]] กลุ่มชาติพันธุ์คาพะโดเคียกล่าวว่าเป็นผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในภูมิภาคตั้งแต่[[Mount Taurus|ภูเขาทอรัส]]ไปจนถึงบริเวณยูซีน ([[ทะเลดำ]]) ฉะนั้นคาพะโดเคียในกรณีนี้จึงมีบริเวณทางตอนใต้จรด[[Taurus Mountains|เทือกเขาทอรัส]] ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติที่แยกจาก[[Cilicia|ซิลิเคีย]], ทางตะวันออกโดย[[แม่น้ำยูเฟรทีส]]ตอนเหนือและ [[Armenian Highland|ที่ราบสูงอาร์เมเนีย]], ทางตอนเหนือโดยภูมิภาค[[พอนทัส]] และทางตะวันตกโดยภูมิภาค[[Lycaonia|ไลเคาเนีย]] และ [[Galatia|กาเลเชีย]]ตะวันออก<ref>Van Dam, R. ''Kingdon of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia.'' Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.13. [http://books.google.com/books?id=Iskwzsz51KMC&printsec=frontcover&source=gbs_v2_summary_r&cad=0#v=onepage&q=&f=false]''</ref>
 
== ที่มา ==
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานแรกที่กล่าวถึงคาพะโดเคียเขียนขึ้นในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช ที่ปรากฏในคำจารึกสามภาษา ของ[[จักรพรรดิดาไรอัสมหาราช]] และ [[จักรพรรดิเซอร์ซีสมหาราช|จักรพรรดิเซอร์ซีส]]แห่ง[[จักรวรรดิอคีเมนียะห์]]ว่าเป็นอาณาจักร หรือ “dahyu-” หนึ่งของ[[จักรวรรดิอคีเมนียะห์|จักรวรรดิเปอร์เซีย]] ที่เรียกเป็นภาษาเปอร์เซียโบราณว่า “Katpatuka” ซึ่งจะเห็นได้ชัดว่าไม่ใช่ต้นรากของชื่อภาษาเปอร์เซียโดยทั่วไป [[Elamite language|ภาษาเอลาไมท์]] และ [[Akkadian language|ภาษาอัคคาเดีย]]ใช้ชื่อที่คล้ายคลึงกันจากภาษาอัคคาเดีย “katpa” “side” ที่แผลงมาจากชื่อบรรพบุรุษ “Tuka”<ref>Room, Adrian. (1997). Placenames of the World. London: MacFarland and Company.</ref>
 
บรรทัด 54:
ราชอาณาจักรคาพะโดเคียยังคงดำรงความเป็นราชอาณาจักรกึ่งอิสระมาจนถึงสมัยของ[[สตราโบ]] ส่วน[[Cilicia|ซิลิเคีย]]เป็นชื่อที่ใช้สำหรับดิสตริคท์ที่เป็นที่ตั้งของ [[Caesarea Mazaca|เซซาเรีย]]ซึ่งเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักร เมืองสองเมืองในคาพะโดเคียที่[[สตราโบ]]เห็นว่ามีความสำคัญคือ The only two cities of Cappadocia considered by Strabo to deserve that appellation were [[Caesarea|เซซาเรีย]] (เดิมเรียกว่า[[Mazaca|มาซาคา]]) และ [[Tyana|ทิยานา]] ที่ตั้งอยู่ไม่ไกลจากเชิงเขา[[เทือกเขาทอรัส|ทอรัส]]
 
== ที่ตั้งและอากาศ ==
[[Fileไฟล์:Erciyes From Aktepe Goreme.JPG|thumb|right|220px|ภูเขา [[Erciyes]] (3,917 เมตร) ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในคาพะโดเคีย]]
คาพะโดเคียตั้งอยู่ทางตะวันออกของ[[อานาโตเลีย]]ในบริเวณตอนกลางของ[[ประเทศตุรกี]]ปัจจุบัน เนื้อที่ของภูมิภาคที่ราบสูงที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลกว่า 1000 เมตรประไปด้วยยอดภูเขาไฟ ที่มีภูเขา [[Erciyes]]เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดที่สูงราว 3,917 เมตร พรมแดนในประวัติศาสตร์ของคาพะโดเคียเป็นพรมแดนที่คลุมเคลือโดยเฉพาะทางด้านตะวันตก ทางด้านใต้เป็น[[เทือกเขาทอรัส]]ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติกับ[[Cilicia|ซิลิเคีย]] และแยกคาพะโดเคียจาก[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ทางด้านตะวันตกตั้งอยู่ติดกับภูมิภาค[[Lycaonia|ไลเคาเนีย]]ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ และ[[Galatia|กาเลเชีย]]ทางตะวันตกเฉียงเหนือ เทือกเขาริมฝั่ง[[ทะเลดำ]]แยกคาพะโดเคียจาก[[พอนทัส]]และ[[ทะเลดำ]] ขณะที่ทางตะวันออกเป็น[[แม่น้ำยูเฟรทีส]]ตอนเหนือ ก่อนที่แม่น้ำจะเลี้ยวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ไปยัง[[เมโสโปเตเมีย]] และ [[Armenian Highland|ที่ราบสูงอาร์เมเนีย]]<ref>Van Dam, R. ''Kingdon of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia.'' Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.13. [http://books.google.com/books?id=Iskwzsz51KMC&printsec=frontcover&source=gbs_v2_summary_r&cad=0#v=onepage&q=&f=false]''</ref> ภูมิภาคนี้มีเนื้อที่ทั้งหมดที่ยาว 400 กิโลเมตรจากตะวันออกจรดตะวันตก และ 250 กิโลเมตรจากเหนือจรดใต้ เพราะที่ตั้งที่อยู่บนแผ่นดินใหญ่ภายในประเทศและมีระดับสูงจากระดับน้ำทะเลมากคาพะโดเคียจึงมีภาวะอากาศแบบภาคพื้นทวีป (continental climate) ที่ร้อนแห้งในฤดูร้อน และ หนาวพอที่จะมีหิมะตกในช่วงฤดูหนาว<ref>Van Dam, R. ''Kingdom of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia.'' Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.14. [http://books.google.com/books?id=Iskwzsz51KMC&printsec=frontcover&source=gbs_v2_summary_r&cad=0#v=onepage&q=&f=false]''</ref> อัตราการตกของฝนมีระดับต่ำและเป็นบริเวณที่จัดว่าเป็นบริเวณกึ่งแห้งแล้งถึงแล้ง (semi-arid ถึง arid)
 
== ประวัติ ==
[[Fileไฟล์:View of Cappadocia edit.jpg|thumb|right|220px|[[เกอเรเม]]ที่เป็นบ้านเรือนที่สร้างเข้าไปในภูมิสัณฐานธรรมชาติหน้าภูมิทัศน์อันน่าประทับใจของหุบเขาอันเต็มไปด้วยสีสรร]]
[[Fileไฟล์:Hot Air Ballon over Cappadocia 11.jpg|thumb|right|220px|[[บัลลูนอากาศร้อน]]เหนือคาพะโดเคีย]]
[[Fileไฟล์:GoremeFairyChimneys.jpg|thumb|right|220px|แท่งหินธรรมชาติในคาพะโดเคีย]]
[[Fileไฟล์:15th century map of Turkey region.jpg|thumb|right|220px|แผนที่จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 ของภูมิภาคคาพะโดเคีย]]
[[Fileไฟล์:House in Cappadocia 22.jpg|thumb|right|220px|บ้านเรือนที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิสัณฐานธรรมชาติในคาพะโดเคีย]]
[[Fileไฟล์:IhlaraTal.jpg|thumb|right|220px|คริสต์ศาสนสถานที่เป็น [[rock-cut architecture|สถาปัตยกรรมในหินผา]] (Rock cut architecture) ในคาพะโดเคีย]]
คาพะโดเคียเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า “[[Hatti|ฮัตติ]]” ในปลาย[[ยุคสำริด]]และเป็นศูนย์กลางทางอำนาจของชน[[Hittites|ฮิทไทท์]]ที่มีศูนย์กลางอยู่ที่[[Hattusa|ฮัททุชา]] หลังจากการล่มสลายของ[[ประวัติศาสตร์ฮิทไทท์|จักรวรรดิฮิทไทท์]]และความเสื่อมโทรมของอารยธรรมซีเรีย-คาพะโดเคียหลังจากความพ่ายแพ้ต่อกษัตริย์[[Croesus|โครซัส]]แห่ง[[Lydia|ลีเดีย]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 แล้ว คาพะโดเคียก็ปกครองโดยขุนนางกึ่ง[[ระบบศักดินา]] ที่อยู่อาศัยกันตามที่มั่นที่เป็น[[ปราสาท]]ต่างๆ โดยมีไพร่ติดแผ่นดินเป็นบริวาร ซึ่งต่อมาเป็นสภาวะที่เหมาะกับการวิวัฒนาการมาเป็นระบบทาสต่างประเทศ คาพะโดเคียจัดเป็นแคว้นของ[[จักรวรรดิเปอร์เซีย]]สมัยที่สามที่ก่อตั้งขึ้นโดย[[จักรพรรดิดาไรอัสมหาราช]] แต่ยังคงได้รับการอนุญาตให้มีประมุขปกครองตนเอง แต่ก็ไม่มีผู้ใดที่มีอำนาจมากพอที่จะปกครองได้ทั้งภูมิภาค
 
:'''ราชอาณาจักรคาพะโดเคีย'''
หลังจาก[[อเล็กซานเดอร์มหาราช]]นำมาซึ่งการล่มสลายของ[[จักรวรรดิเปอร์เซีย]]แล้ว พระองค์ก็ทรงพยายามที่จะปกครองคาพะโดเคียโดยการส่งผู้แทนพระองค์มาปกครอง แต่อาเรียร์ทีสผู้เป็นขุนนางเปอร์เซียกลับกลายมาเป็นกษัตริย์แห่งคาพะโดเคียแทนที่ [[Ariarathes I of Cappadocia|อาเรียร์ทีสที่ 1 แห่งคาพะโดเคีย]] (332&mdash;332—322 ก่อนคริสต์ศักราช) เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระปรีชาสามารถ และทรงทำการขยายดินแดนของราชอาณาจักรคาพะโดเคียออกไปถึง[[ทะเลดำ]] ราชอาณาจักรคาพะโดเคียตั้อยู่ในความสงบสุขมาจนกระทั่งการเสด็จสวรรคตของ[[อเล็กซานเดอร์มหาราช]] เมื่อจักรวรรดิถูกแบ่งย่อยออกไปเป็นส่วนๆ คาพะโดเคียตกไปเป็นของ[[Eumenes|ยูเมนีส]] ยูเมนีสขึ้นมามีอำนาจโดยความช่วยเหลือของขุนพล[[Perdiccas|เพอร์ดิคคัส]]ผู้เป็นผู้สำเร็จราชการของ[[อเล็กซานเดอร์มหาราช]]ผู้จับอาเรียร์ทีสตรึงกางเขน แต่หลังจากที่[[Perdiccas|เพอร์ดิคคัส]]ถูกลอบสังหาร และ[[Eumenes|ยูเมนีส]]ถูกประหารชีวิต บุตรชายของอาเรียร์ทีสก็ได้คาพะโดเคียคืน และทำการปกครองต่อมาโดยกษัตริย์ที่สืบเชื้อสายต่อมา
 
เมื่อมาถึงรัชสมัยของ[[Ariarathes IV of Cappadocia|อาเรียร์ทีสที่ 4 แห่งคาพะโดเคีย]] (220&mdash;220—163 ก่อนคริสต์ศักราช) คาพะโดเคียก็เริ่มมีความสัมพันธ์กับ[[สาธารณรัฐโรมัน|โรม]]ที่เริ่มด้วยการเป็นศัตรูในการเป็นปฏิปักษ์ต่อ[[พระเจ้าแอนทิโอคัสมหาราช]] และต่อมาหันมาเป็นพันธมิตรในการต่อต้าน[[Perseus of Macedon|เพอร์เซียสแห่งมาซิดอน]] ซึ่งก็เท่ากับทรงวางตนเป็นศัตรูกับ [[Seleucid Empire|จักรวรรดิเซลูซิด]]ที่เคยทรงส่งบรรณาการเป็นครั้งคราวอย่างเต็มพระองค์
 
[[Ariarathes V of Cappadocia|อาเรียร์ทีสที่ 5 แห่งคาพะโดเคีย]] (163&mdash;163—130 ก่อนคริสต์ศักราช) ทรงนำทัพร่วมกับกงสุลโรมัน[[Publius Licinius Crassus Dives Mucianus|พิวเบลียส ลิซิเนียส คราซัส ดิเวส มูเชียนัส]]ในการต่อสู้กับ[[Eumenes III|ยูเมนีสที่ 3]] ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์[[Pergamon|เพอร์กามอน]] แต่พระองค์ก็ทรงได้รับความพ่ายแพ้อย่างยับเยินและสิ้นพระชนม์ในปี 130 ก่อนคริสต์ศักราช ภาวะของความสับสนวุ่นวายที่ตามมาหลังจากการเสียชีวิตของอาเรียร์ทีสที่ 5 นำไปสู่การแทรกแซงของ[[พอนทัส]]ที่รุ่งเรืองขึ้นมา และการสงครามที่เกิดขึ้นที่นำมาซึ่งความหายนะของราชวงศ์ที่ปกครองคาพะโดเคีย
 
:'''จังหวัดคาพะโดเคียของโรมัน'''
บรรทัด 87:
ในขณะเดียวกันชาวคาพะโดเคียก็เริ่มเปลี่ยนไปพูดภาษาตุรกีที่เขียนด้วยอักษรกรีกที่เรียกว่า “Karamanlıca” และในบริเวณที่ยังคงพูดภาษากรีก อิทธิพลของภาษาตุรกีรอบข้างก็เริ่มจะเพิ่มขึ้น ภาษากรีกที่พูดกันในภูมิภาคคาพะโดเคียเรียกกันว่า “[[Cappadocian Greek language|ภาษากรีกคาพะโดเคีย]]” หลังจาก[[Population exchange between Greece and Turkey|การแลกเปลี่ยนประชากรระหว่างกรีซและตุรกี]]ในปี ค.ศ. 1923 แล้วก็เหลือผู้พูดภาษากรีกคาพะโดเคียอยู่เพียงไม่กี่คน
 
== ภูมิสัณฐาน ==
ภูมิภาคคาพะโดเคียที่มีชื่อเสียงว่ามีภูมิสัณฐานที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์, ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมือง[[Kayseri|ไคย์เซอรี]]
 
ฐานของธรณีสัณฐานของคาพะโดเคียเป็นการทับถมของหินที่มาจากทะเลสาบและลำธาร และ จากการทับถมของวัตถุต่างๆ ที่ระเบิดจากภูเขาไฟ (Ignimbrite) โบราณเมื่อราว 9 ถึง 3 ล้านปีที่ผ่านมาในระหว่าง[[Miocene|สมัยไมโอซีน]] จนถึง [[Pliocene|สมัยพลิโอซีน]]
 
หินในภูมิภาคคาพะโดเคียไม่ไกลจาก[[เกอเรเม]]ถูกกัดกร่อนจากธรรมชาติรายเป็นรูปทรงคล้ายแท่งหรือหอที่มีปลายแหลมบนยอดคล้ายเห็ดอันดูแปลกตา วัตถุที่ระเบิดจากภูเขาไฟเป็นหินที่มีคุณสมบัติที่ง่ายต่อการกัดกร่อนหรือสลักเสลา ที่ทำให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณคาพะโดเคียใช้ในการขุดคว้านเป็นบ้านเรือนที่อยู่อาศัย, ศาสนสถาน หรือ สำนักสงฆ์ได้ ซึ่งทำให้[[เกอเรเม]]กลายมาเป็นศูนย์กลางของ[[ระบบสำนักสงฆ์ของคริสต์ศาสนา|สำนักสงฆ์]]ราวระหว่างปี ค.ศ. 300&mdash;300—ค.ศ. 1200
 
การตั้งถิ่นฐานในยุคแรกใน[[เกอเรเม]]เริ่มขึ้นในสมัยโรมัน บริเวณนี้ที่ว่านี้เต็มไปด้วยบ้านเรือน, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใต้ดิน และ คริสต์ศาสนสถานที่ขุดเข้าไปในโพรงหิน [[Churches of Göreme, Turkey|คริสต์ศาสนสถานในเกอเรเม]]มีด้วยกันกว่า 30 วัดและชาเปล บางวัดก็มีงาน[[จิตรกรรมฝาผนัง]]จากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 11 ที่ยังมีความงดงามสดใสอยู่
 
== ระเบียงภาพ ==
<gallery style="text-align:center;" perrow=5>
ไฟล์:Map of Cappadocia.jpg|<center>แผนที่แสดงที่ตั้ง</center>
บรรทัด 105:
ไฟล์:ZelveWohnungen.jpg|<center>บ้านเรือนที่ขุดเข้าไปในผาหิน</center>
ไฟล์:GüzelyurtKircheInnen.jpg|<center>โพรงที่ขุดภายในผาหิน</center>
ไฟล์:Michael capp.jpg|<center>[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br />ในวัดในถ้ำ</center>
ไฟล์:Magi capp.jpg|<center>[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br />“[[การชื่นชมของแมไจ]]”</center>
ไฟล์:Apostles capp.JPG|<center>[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br />“[[อัครสาวกสิบสององค์]]”</center>
</gallery>
 
บรรทัด 113:
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[อานาโตเลีย]]
* [[ศิลปะและสถาปัตยกรรมคริสเตียนยุคแรก]]
บรรทัด 122:
{{มรดกโลกตุรกี}}
{{เรียงลำดับ|คาพะโดเคีย}}
 
[[หมวดหมู่:คาพะโดเคีย|*]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศตุรกี]]
เส้น 131 ⟶ 132:
[[หมวดหมู่:ภูมิภาคในประวัติศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:มรดกโลกแบบผสม]]
 
{{Link FA|es}}
 
เส้น 170 ⟶ 172:
[[nl:Cappadocië]]
[[no:Kappadokia]]
[[os:Каппадоки]]
[[pl:Kapadocja]]
[[pnt:Καππαδοκία]]