ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชมพูทวีป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
{{พุทธศาสนา}}
 
'''ชมพูทวีป''' หมายถึง โลกมนุษย์ทั้งหมด ไม่ใช่อินเดีย-เนปาล อย่างที่หลายๆคนเข้าใจ ดังมีหลักฐานในพระไตรปิฎกกล่าวไว้ดังนี้
 
ที่อยู่ของมนุษย์ หรือมนุสสภูมินั้น อยู่บนพื้นดิน (หรือเรียกว่า ดาวเคราะห์) ลอยอยู่กลางอากาศ ในระดับเดียวกับไหล่เขาพระสุเมรุ ตั้งอยู่ในทิศทั้ง 4 ของเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นแกนกลางของจักรวาล (หรือทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบันเรียก กาแล็กซี่)ผืนแผ่นดินใหญ่ (ดาวเคราะห์)ทั้ง 4 ที่ลอยอยู่ในทิศทั้ง 4 เรียกว่า ทวีป มีชื่อและที่ตั้ง ดังนี้
 
# ปุพพวิเทหทวีป ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขาพระสุเมรุ
# อมรโคยานทวึป (อปรโคยานทวีป) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขาพระสุเมรุ
# ชมพูทวีป (โลกมนุษย์ที่เราอยู่) ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเขาพระสุเมรุ
# อุตตรกุรุทวีป ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ
'''ชมพูทวีป''' ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเขาสิเนรุ (เขาพระสุเมรุ)
-* มีธาตุมรกตอยู่ทางทิศใต้ของเขาสิเนรุ แสงสะท้อนของธาตุมรกตทำให้ทองฟ้าและมหาสมุทรของชมพูทวีปมีสีน้ำเงินแกมเขียว
-* มนุษย์ที่ชมพูทวีป มีความสูง 4 ศอก มีอายุประมาณ ๑๐๐100 ปี (อาจตายก่อนอายุได้ ไม่แน่นอน)
-* มนุษย์ที่อาศัยอยู่ในทวีปนี้ อายุยิ่งหย่อนขึ้นอยู่กับคุณธรรม ไม่แน่นอน
-* สมัยหนึ่งมนุษย์ในชมพูทวีปเคยมีอายุถึง ๘๐80,๐๐๐000 ปี แต่เมื่อคุณธรรมเสื่อมลง อาหารเลวลง อายุก็ลดลง
-* ต่อไปภายภาคหน้ามนุษย์ในชมพูทวีป จะมีอายุเพียง ๑๐10 ปี เท่านั้น และตัวจะเตี้ยถึงขนาดต้องสอยมะเขือกิน
-* ดอกไม้ประจำชมพูทวีปคือ "ชมพู (ไม้หว้า)" ...เพราะเหตุนี้ ถึงเรียกว่า "ชมพูทวีป" เพราะดอกไม้ประจำทวีปนี้คือ ดอก "ชมพู"
 
เรื่องของชมพูทวีป เหตุที่เรียกชื่อดังนี้ เพราะทวีปนี้มีไม้หว้าเป็นพญาไม้ประจำทวีป (ต้นชมพู่ แปลว่าต้นหว้า) ไม้หว้าต้นนี้อยู่ในป่าหิมพานต์ ลำต้นวัดโดยรอบ 15 โยชน์ จากโคนถึงยอดสูงสุด 100 โยชน์ จากโคนถึงค่าคบสูง 50 โยชน์ ที่ค่าคบมีกิ่งทอดออกไปในทิศทั้ง 4 แต่ละกิ่งยาว 50 โยชน์ วัดจากโคนต้นไปทางทิศไหนก็จะสูงเท่ากับความยาวในแต่ละทิศ คือ 100 โยชน์ ใต้กิ่งหว้าทั้ง 4 นั้น เป็นแม่น้ำใหญ่ไหลผ่านไปในทิศทั้งหลาย ผลหว้ามีกลิ่นหอม รสหวานปานน้ำผึ้ง หมู่นกทั้งหลายชวนกันมากินผลหว้าสุกนั้น บางทีผลสุกก็หล่นลงตามฝั่งแม่น้ำ แล้วงอกออกเป็นเนื้อทอง และถูกน้ำพัดออกไปจมลงในมหาสมุทร เรียกทองนั้นว่า ทองชมพูนุท เพราะอาศัยเกิดมาจาก ชมพูนที
เรื่องของชมพูทวีป เหตุที่เรียกชื่อดังนี้ เพราะทวีปนี้มีไม้หว้าเป็นพญาไม้ประจำทวีป (ต้นชมพู่ แปลว่าต้นหว้า)
ไม้หว้าต้นนี้อยู่ในป่าหิมพานต์ ลำต้นวัดโดยรอบ ๑๕ โยชน์ จากโคนถึงยอดสูงสุด ๑๐๐ โยชน์
จากโคนถึงค่าคบสูง ๕๐ โยชน์ ที่ค่าคบมีกิ่งทอดออกไปในทิศทั้ง ๔ แต่ละกิ่งยาว ๕๐ โยชน์
วัดจากโคนต้นไปทางทิศไหนก็จะสูงเท่ากับความยาวในแต่ละทิศ คือ ๑๐๐ โยชน์ ใต้กิ่งหว้า
ทั้ง ๔ นั้น เป็นแม่น้ำใหญ่ไหลผ่านไปในทิศทั้งหลาย ผลหว้ามีกลิ่นหอม รสหวานปานน้ำผึ้ง
หมู่นกทั้งหลายชวนกันมากินผลหว้าสุกนั้น บางทีผลสุกก็หล่นลงตามฝั่งแม่น้ำ แล้วงอกออก
เป็นเนื้อทอง และถูกน้ำพัดออกไปจมลงในมหาสมุทร เรียกทองนั้นว่า ทองชมพูนุท
เพราะอาศัยเกิดมาจาก ชมพูนที
 
ความเป็นอยู่ของมนุษย์ในทวีปทั้ง 3 ยกเว้นชมพูทวีป มีความเป็นอยู่ที่สุขสบาย มีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดบริสุทธิ์ ไม่มีมลภาวะ ทำให้อาหารการกิน และน้ำท่าอุดมสมบูรณ์ โรคภัยไข้เจ็บไม่เบียดเบียนเหมือน อย่างในชมพูทวีป ที่เป็นเช่นนี้เพราะมนุษย์ใน 3 ทวีป มีศีลธรรมที่เป็นปกติ สม่ำเสมอ ส่วน
เส้น 62 ⟶ 54:
|}
 
และมีแคว้นเล็กๆ อีก 5 แคว้นคือ [[สักกะ]] [[โกลิยะ]] [[ภัคคะ]] [[วิเทหะ]] และ[[อังคุตตราปะ]]
 
แคว้นพระบิดาของพระพุทธองค์ก็อยู่ในแคว้นเล็ก ๆ นี่อาณาจักรเหล่านี้ปกครองในระบบ[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]คือพระราชามีอำนาจเด็ดขาดบ้าง ระบบสามัคคีธรรม คือมีสภาเป็นที่ปรึกษาบ้าง ระบบประชาธิปไตยบ้าง แต่ส่วนมากจะเป็นระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ด้วยเหตุที่พุทธศาสนาถือกำเนิดในแผ่นดินอินเดีย จึงควรจะได้ศึกษาภูมิหลังของอินเดียในยุคก่อนการกำเนิดของพุทธศาสนาพอสังเขป ดังนี้
เส้น 69 ⟶ 61:
 
{{แคว้นพุทธกาล}}
{{โครงพระพุทธศาสนา}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศอินเดีย]]
[[หมวดหมู่:อนุทวีปอินเดีย]]