ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชะพลู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
| subtribus =
| genus = ''[[Piper]]''
| species = '''''sarmentosum'''''
| binomial = ''Piper sarmentosum''
| binomial_authority = [[William Roxburgh|Roxb.]]
| synonyms =
*
*
| range_map =
| range_map_width =
| range_map_caption =
}}
 
'''ชะพลู''' หรือ '''ช้าพลู''' <ref>[http://rirs3.royin.go.th/ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒] (สืบค้นออนไลน์)</ref> (ชื่อวิทยาศาสตร์: ''Piper sarmentosum'' Roxb.) เป็นพืชในวงศ์ [[Piperaceae]] มักสับสนกับ[[พลู]]<ref>{{cite web | url=http://www.asiafood.org/glossary_2.cfm?wordid=3252 | title=''Piper sarmentosum'' | work=Asia Food Glossary | publisher=Asia Source | accessdate=2008-09-08}}</ref> แต่ใบรสไม่จัดเท่าพลูและมีขนาดเล็กกว่า
 
ชะพลูมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือทางภาคเหนือเรียกว่า "ผักปูนา" "ผักพลูนก" "พลูลิง" "ปูลิง" "ปูลิงนก" ทางภาคกลาง เรียกว่า "ช้าพลู" ทางภาคอีสานเรียกว่า "ผักแค" "ผักปูลิง" "ผักนางเลิด" "ผักอีเลิด" และ ทางภาคใต้เรียกว่า "นมวา"
== ชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ==
'''ทางภาคเหนือ''' เรียกว่า "ผักปูนา","ผักพลูนก","พลูลิง","ปูลิง","ปูลิงนก"
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
'''ทางภาคกลาง''' เรียกว่า "ช้าพลู"
* ใบ: มีลักษณะคล้ายรูปหัวใจรูปทรงคล้ายกับใบพลู แต่มีขนาดใบเล็กกว่า มีสีเขียวเข้มเป็นใบเดี่ยว รสชาติเผ็ดอ่อนๆ ดอกออกบริเวณปลายยอด มีสีขาวอัดแน่นกันเป็นทรงกระบอกขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายดีปลีแต่สั้นกว่า
 
== การกระจายพันธุ์ ==
'''ทางภาคอีสาน''' เรียกว่า "ผักแค","ผักปูลิง","ผักนางเลิด","ผักอีเลิด"
ชะพลูพบในเขตร้อนของ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ[[อินเดีย]] และตอนใต้ของ[[จีน]] และไกลถึงหมู่เกาะอันดามัน<ref>{{cite journal | title=Piper sarmentosum Roxb. – An addition to the flora of Andaman
Islands | journal=Current Science | volume=87 | issue=2 | date=July 25, 2004 | url=http://www.ias.ac.in/currsci/jul252004/141.pdf | accessdate=2008-09-08}}</ref>
 
== การปลูกเลี้ยง ==
'''ทางภาคใต้''' เรียกว่า "นมวา","นิยมเรียกใบชะพลูมากกว่า"
*ชะพลูเป็นพันธุ์ไม้ที่ชอบพื้นที่ลุ่ม มีความชื่น การขยายพันธุ์: ด้วยวิธีการปักชำ โดยการเลือกกิ่งที่มีใบอ่อนและใบแก่ เด็ดใบแก่ออกและนำไปปักชำได้
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
ต้นชะพลูมีอยู่ด้วยกัน 2 ลักษณะ คือ ''แบบทรงพุ่ม'' ต้นเตี้ย มีขนาดเล็ก และ ''แบบไม้เลื่อย''
* ใบ: มีลักษณะคล้ายรูปหัวใจรูปทรงคล้ายกับใบพลู แต่มีขนาดใบเล็กกว่า มีสีเขียวเข้มเป็นใบเดี่ยว รสชาติเผ็ดอ่อนๆ
* ดอก: ออกบริเวณปลายยอด มีสีขาวอัดแน่นกันเป็นทรงกระบอกขนาดเล็ก ลักษณะคล้ายดีปลีแต่สั้นกว่า
* การดูแล: ชะพลูเป็นพันธุ์ไม้ที่ชอบพื้นที่ลุ่ม มีความชื่น
* การขยายพันธุ์: วิธีการปักชำ โดยการเลือกกิ่งที่มีใบอ่อนและใบแก่ เด็ดใบแก่ออกและนำไปปักชำได้
 
== สรรพคุณทางยา ==
เส้น 49 ⟶ 39:
* ราก : ขับเสมหะให้ออกมาทางระบบขับถ่าย ขับลมในลำไส้ ทำให้เสมหะแห้ง
* ต้น : ขับเสมหะในทรวงอก
* ใบ : มีรสเผ็ดร้อน ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ในใบชะพลูมีสาร '''[[เบต้า-แคโรทีน]]''' สูงมาก
 
== ข้อควรระวัง ==
เส้น 57 ⟶ 47:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.panmai.com/Zodiac1/caplu.shtml ชะพลู] 108 พรรณไม้ไทย
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0E0%B8B8%8A8A%E0E0%B8B8%B0B0%E0E0%B8B8%9E9E%E0E0%B8B8%A5A5%E0E0%B8B8%B9B9 ชะพลู] คลังปัญญาไทย
* [http://yalor.yru.ac.th/~dolah/notes/4902-1-48G13/SEMREP/Sb_404652058.doc การขยายพันธุ์]
* [http://www.panmai.com/Zodiac1/caplu.shtml ลักษณะทางพฤกษศาสตร์]
* http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%8A%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B9
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:พืช]]
{{โครงพืช}}
 
[[en:Piper sarmentosum]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชะพลู"