ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มารุต บุนนาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 48:
ชีวิตส่วนตัว ศ. (พิเศษ) มารุต บุนนาค สมรสกับ คุณหญิงพันทิพา บุนนาค (สกุลเดิม "พันธุ์มณี") มีธิดาคือ [[นางมฤทุ บุนนาค มอริ]] เจ้าหน้าที่ระดับสูงใน [[องค์การสหประชาชาติ]] สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยที่ [[สวิตเซอร์แลนด์|ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] และมีบุตรคือ นายรุจิระ บุนนาค สำเร็จนิติศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] เนติบัณฑิตไทยของ[[สเนติบัณฑิตยสภา|ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา]] สำเร็จปริญญาโทกฎหมายระหว่างประเทศ 2 ปริญญา ที่[[มหาวิทยาลัยทูเรน]]และ[[มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย]] สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันดูแลสำนักงานต่างประเทศ
 
 
มีประสบการณ์ทำงานเป็นทนายความที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาก่อน ก่อนที่จะเข้าสู่แวดวงการเมืองด้วยการเป็นสมาชิก[[วุฒิสภา]]ในปี [[พ.ศ. 2518]] หลัง[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] ต่อมาจึงได้เข้าสู่[[พรรคประชาธิปัตย์]]และลงเลือกตั้งใน[[กรุงเทพมหานคร]] เขต 2 คือ [[เขตพญาไท]]และ[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] ในการเลือกตั้งเมื่อปี [[พ.ศ. 2522]] แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2526]] ศ. (พิเศษ) มารุต ได้ลงเลือกตั้งอีกครั้ง คราวนี้ประสบความสำเร็จได้รับเลือกตั้ง และได้เป็น ส.ส. ในเขตกรุงเทพมหานคร นับแต่นั้นเป็นต้นมา
 
ตำแหน่งทางวิชาการ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี [[พ.ศ. 2517]] - [[พ.ศ. 2519]] และปี พ.ศ. 2521 และปัจจุบัน เป็นประธานร้านธรรมศาสตร์กาชาดและเป็นอุปนายกสมาคมตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2513]] จนถึงปัจจุบัน เป็นกรรมการของสมาคมมิตรภาพไทย-จีน ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2522]] - [[พ.ศ. 2526]]
บรรทัด 54:
== การเมือง ==
 
มีประสบการณ์ทำงานเป็นทนายความที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาก่อน ก่อนที่จะเข้าสู่แวดวงการเมืองด้วยการเป็นสมาชิก[[วุฒิสภา]]ในปี [[พ.ศ. 2518]] หลัง[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]] ต่อมาจึงได้เข้าสู่[[พรรคประชาธิปัตย์]]และลงเลือกตั้งใน[[กรุงเทพมหานคร]] เขต 2 คือ [[เขตพญาไท]]และ[[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] ในการเลือกตั้งเมื่อปี [[พ.ศ. 2522]] แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2526]] ศ. (พิเศษ) มารุต ได้ลงเลือกตั้งอีกครั้ง คราวนี้ประสบความสำเร็จได้รับเลือกตั้ง และได้เป็น ส.ส. ในเขตกรุงเทพมหานคร นับแต่นั้นเป็นต้นมา
ประสบการณ์ทางการเมือง ได้รับเลือกให้เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์สมัย พ.อ. (พิเศษ) [[ถนัด คอมันตร์]] เป็นหัวหน้าพรรค แม้จะไม่ได้รับเลือกตั้งก็ตาม และดำรงตำแหน่งมากมาย ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงยุติธรรม]] [[พ.ศ. 2524]] - [[พ.ศ. 2526]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงสาธารณสุข]] พ.ศ. 2526 – [[พ.ศ. 2529]] และ [[พ.ศ. 2532]] - [[พ.ศ. 2533]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] พ.ศ. 2529 – [[พ.ศ. 2531]] ประธานรัฐสภา ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และประธานสภาผู้แทนราษฎร [[พ.ศ. 2535]] - [[พ.ศ. 2538]] และทำหน้าที่เป็นประธานสภาชั่วคราว ในการคัดเลือกประธานสภา หลังการเลือกตั้งในปี [[พ.ศ. 2548]] จากฐานะเป็น ส.ส.ที่อาวุโสที่สุดของสภา
 
ประสบการณ์ทางการเมือง ได้รับเลือกให้เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์สมัย พ.อ. (พิเศษ) [[ถนัด คอมันตร์]] เป็นหัวหน้าพรรค แม้จะไม่ได้รับเลือกตั้งก็ตาม และดำรงตำแหน่งมากมาย ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงยุติธรรม]] [[พ.ศ. 2524]] - [[พ.ศ. 2526]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงสาธารณสุข]] พ.ศ. 2526 – [[พ.ศ. 2529]] และ [[พ.ศ. 2532]] - [[พ.ศ. 2533]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] พ.ศ. 2529 – [[พ.ศ. 2531]] ประธานรัฐสภา ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และประธานสภาผู้แทนราษฎร [[พ.ศ. 2535]] - [[พ.ศ. 2538]] และทำหน้าที่เป็นประธานสภาชั่วคราว ในการคัดเลือกประธานสภา หลังการเลือกตั้งในปี [[พ.ศ. 2548]] จากฐานะเป็น ส.ส.ที่อาวุโสที่สุดของสภา