ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะเคียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
 
{{taxobox
| status = VU
| status_system = IUCN2.3
| regnum = [[Plantae]]
| image = Leaves of Hopea odorata.jpg
| image_width = 290px
| image_caption = ใบของตะเคียนทอง
| unranked_divisio = [[Angiosperms]]
| unranked_classis = [[Eudicots]]
| unranked_ordo = [[Rosids]]
| ordo = [[Malvales]]
| familia = [[Dipterocarpaceae]]
| genus = ''[[Hopea]]''
| species = '''''H. odorata'''''
| binomial = ''Hopea odorata''
| binomial_authority = [[William Roxburgh|Roxb.]]
|}}
'''ตะเคียนทอง''' (Iron Wood) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ไม้ตะเคียน สามารถพบใน[[ประเทศบังกลาเทศ]], [[ประเทศกัมพูชา]], [[ประเทศอินเดีย]], [[ประเทศลาว]], [[ประเทศมาเลเซีย]], [[ประเทศพม่า]], [[ประเทศไทย]], และ [[ประเทศเวียดนาม]]
 
ตะเคียนทองยังมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกดังนี้: กะกี้ โกกี้ (กะเหรี่ยง เชียงใหม่) แคน (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เลย) จะเคียน (เหนือ) จืองา (มลายู นราธิวาส) จูเค้ โซเก (กะเหรี่ยง กาญจนบุรี) ตะเคียน ตะเคียนใหญ่ (กลาง) ตะเคียนทอง (กลาง,ประจวบคีรีขันธ์) ไพร (ละว้า เชียงใหม่) <ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">[http://www.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/ สำนักงานหอพรรณไม้. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ -- กรุงเทพมหานคร : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549]</ref>
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
เส้น 27 ⟶ 28:
ตะเคียนทองมีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติทางตอนใต้ และตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเซีย ในแถบประเทศไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย บังกลาเทศ และอินเดีย พบในป่าดิบชื้น
 
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
* Ashton, P. 1998. [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/32305/all ''Hopea odorata'']. [http://www.iucnredlist.org 2006 IUCN Red List of Threatened Species. ] Downloaded on [[21 August]] [[2007]].
 
ต้นไม้พระราชทาน
 
{{โครง}}
 
[[หมวดหมู่:พืช]]
 
[[en:Hopea odorata]]