ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปากน้ำโพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ประวัติความเป็นมา
'''ปากน้ำโพ''' อาจหมายถึง
นครสวรรค์เป็นเมืองโบราณ สมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งปรากฏชื่อในศิลาจารึกเรียกว่า "เมืองพระบาง" หรือ "ปากพระบาง" เป็นเมืองหน้าด่านใต้ของอาณาจักรสุโขทัย เมื่ออาณาจักรนี้เสื่อมลงได้ถูกอาณาจักรกรุงศรีอยุธยารวมเข้าไว้ และมีชื่อเรียกเพิ่มอีกชื่อว่า "เมืองพังคา" หรือ "นครพังคา" ซึ่งแปลว่าช้างศึกพวกหนึ่ง ที่ตั้งของตัวเมืองอยู่บนฝั่งขวาของต้นน้ำเจ้าพระยาจนถึงเขาขาด หันหน้าไปทางทิศตะวันออก เผชิญกับพระอาทิตย์ที่ขึ้นในตอนเช้า จึงมีสมญานามเมืองอีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองชอนตะวัน" ครั้นถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยาได้ทรงจัดระเบียบการปกครองใหม่ เมืองพระบางหรือนครพังคา จึงเปลี่ยนเป็น "เมืองนครสวรรค์" ตั้งแต่นั้นมา
* [[จังหวัดนครสวรรค์|ปากน้ำโพ]] - ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของ[[จังหวัดนครสวรรค์]]
 
* [[ตำบลปากน้ำโพ]] - [[ตำบล]]ใน[[อำเภอเมืองนครสวรรค์]] [[จังหวัดนครสวรรค์]]
* [[สถานีรถไฟปากน้ำโพ]] - [[สถานีรถไฟ]]ในทางรถไฟสายเหนือ [[จังหวัดนครสวรรค์]]
"ปากน้ำโพ" เป็นที่รู้จักของคนทั่ว ๆ ไป เกือบจะเทียบเท่ากับนาม "เมืองนครสวรรค์" มีที่มาจากหลายแห่ง ซึ่งมีเหตุผลแตกต่างกันไป ประเด็นแรกกล่าวว่า "ปากน้ำโผ่" หรือ "ปากน้ำโพโผล่" ชาวเรือแพที่ล่องสินค้ามาจากทางภาคเหนือตามแควต่าง ๆ เช่น ปิง วัง ยม น่าน จนถึงปากน้ำโพอันกว้างใหญ่ไพศาล ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่างก็อุทานออกมาด้วยความโล่งใจ "โผ่" หรือ "โผล่" แล้วเพราะได้สิ้นสุดภาระการล่องเรือในลำน้ำที่แสนจะคดเคี้ยวและแคบด้วยความลำบากเหน็ดเหนื่อย แต่เดิมคงจะเรียกว่า "ปากน้ำโผล่" ตามสำเนียงภาคเหนือ แล้วคงมาเพี้ยนเป็น "ปากน้ำโพ" อีกประเด็นกล่าวกันว่ามากจากคำว่า "โพธิ์" เพราะมีต้นโพธิ์ขนาดใหญ่อยู่ตรงปากแม่น้ำล่องเรือแพผ่านไปมาจะมองเห็นต้นโพธิ์ใหญ่นี้อยู่ตรงปากแม่น้ำและวัดๆหนึ่ง คือ วัดโพธิ์ ( วัดโพธารามในปัจจุบัน ) เป็นวัดที่ทำบุญของชาวเมืองลอย ( ชาวปากน้ำโพ ) จึงมีชื่อตามชื่อต้นโพธิ์หรือชื่อวัดโพธิ์ว่า "ปากน้ำโพธิ์" ต่อมากลายเป็น "ปากน้ำโพ" ในหนังสืออักขรานุกรมภูมิศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถานกล่าวไว้ว่า แม่น้ำแควปิง ตั้งแต่ตรงที่แม่น้ำวังกับแม่น้ำปิงรวมกันที่จังหวัดตาก ลงมาจนถึงต้นแม่น้ำเจ้าพระยา สมัยโบราณมีชื่อเรียกอีกชื่อว่า "แม่น้ำโพ" ฉะนั้น ตรงที่แม่น้ำแควปิงหรือแม่น้ำโพกับแม่น้ำแควใหญ่ ( ซึ่งหมายถึงแม่น้ำยมไหลมารวมกับแม่น้ำน่าน ) จึงเรียกว่า "ปากน้ำโพ" ได้เช่นกัน ( ซึ่งหมายถึงแม่น้ำยมไหลมารวมกับแม่น้ำน่าน ) จึงเรียกว่า "ปากน้ำโพ" ได้เช่นกัน
{{แก้กำกวม}}
 
เมืองปากน้ำโพเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญแห่งหนึ่งมาช้านานนับร้อยปี เปรียบเสมือนประตูการค้าระหว่างทางเหนือกับทางใต้ เป็นศูนย์กลางการค้า การคมนาคม การศึกษา ฯลฯ และเป็นที่ตั้งของเทศบาลนครนครสวรรค์ในปัจจุบัน