ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สู่ฝันอันยิ่งใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สร้างเชิงอรรถให้ใหม่ แทนที่ของเดิม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
“...เรื่องนี้เป็นละครซ้อนละคร เป็นการผสมผสานที่มีเสน่ห์มากระหว่างความเป็นจริงกับความใฝ่ฝัน ระหว่างความเป็นเรียลลิสติกกับโรแมนติก เป็นสไตล์ซ้อนที่กลับไปกลับมา เพราะฉะนั้น งานของเราก็คือจะสื่ออย่างไรให้คนดูได้ระดับความคิดเช่นนี้ทั้งสองระดับ ทำอย่างไรให้เรียลลิสติกกับโรแมนติกเจอกันพอดี แล้วเรื่องนี้ยังเป็นละครเพลง เป็นรูปแบบละครที่รวมการแสดงหลายๆ อย่าง นับตั้งแต่การแสดง เต้นรำ และร้องเพลง รวมทั้งดนตรีเข้ามาด้วย เราต้องผสมผสานศิลปะเหล่านี้เข้ากันเพื่อให้ความบันเทิงกับคนดู และขณะเดียวกันก็สามารถสื่อสาระของละครได้ด้วย...” ('''ยุทธนา มุกดาสนิท''' ผู้กำกับการแสดง)
 
“...เป็นการเอาความลึก ความกว้าง และความสูงของโรงละครแห่งชาติมาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่ด้านจินตนาการ...เกือบจะเปลือยโรงละคร ไร้มิติ ไร้เวลา ไร้สถานที่ จะขยายขอบเขตของโรงละครออกไปอย่างที่คนดูไม่เคยเห็น จากนั้นจะค่อยๆ สร้างขอบเขตของเวทีด้วยองค์ประกอบด้านฉากและแสง เพื่อเสริมความเปลี่ยนแปลงของฉากที่เปลี่ยนไปในแต่ละองก์ แล้วก็กลับไปสู่ความกว้าง ลึก สูง ของคุกใต้ดิน ซึ่งกว้าง ลึก และสูง อย่างไร้มิติ ไร้เวลา และไร้สถานที่...” ('''บุรณี รัชไชยบุญ''' ผู้กำกับเทคนิค) <ref>“ละครเพลงอมตะ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่” (แผ่นพับประชาสัมพันธ์ 2530) </ref>
 
แนวทางต่างๆ เหล่านี้ ก็ยังคงเป็นแนวคิดหลักเมื่อนำ “สู่ฝันอันยิ่งใหญ่” กลับคืนสู่เวทีอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2551
บรรทัด 77:
'''นักแสดงนำใน "สู่ฝันอันยิ่งใหญ่"'''
 
ในโปรดักชั่น 2530 มีการเปลี่ยนนักแสดงนำจากที่กำหนดไว้อย่างกะทันหัน คือเซรบานเตส/ดอน กิโฮเต้ จากเดิมที่จะแสดงนำโดย พรศิล จันทนากร (นักแสดงนำจากละครเวที ''กาลิเลโอ'' 2528) จนมีการเปิดแถลงข่าวที่โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัลไปแล้วในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2530 ทว่าหลังจากนั้นไม่นาน ตามกระแสข่าวอย่างเป็นทางการ ระบุว่าพรศิลขอถอนตัว ทางคณะละครสองแปดจึงติดต่อทาบทามให้ศรัณยู วงศ์กระจ่าง และจรัล มโนเพ็ชร มารับบทดังกล่าวแทน
 
'''สิงหาคม - กันยายน 2530''' <ref>สูจิบัตร '''สู่ฝันอันยิ่งใหญ่''' 2530</ref>
บรรทัด 211:
 
Chamnongsri L. Rutnin. “On the Way to the Unreachable Star” '''Bangkok Post ''' September, 3, 1987 :
 
 
'''บทวิจารณ์ 2551'''