ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฒนธรรมระดับสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: pl:Kultura elitarna
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ru:Элитарная культура; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 5:
'''วัฒนธรรมระดับสูง''' (High culture) เป็นคำที่ใช้มากทางวิชาการหลายด้าน แต่ความหมายทั่วไปที่แพร่หลาย หมายถึงชุดของ[[ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม]]ซึ่งส่วนใหญ่เป็น[[ศิลปะ]]ที่ถือว่าอยู่ในระดับสูงสุดของวัฒนธรรมหนึ่ง หรือหมายรวมถึง[[วัฒนธรรมของสังคมชนชั้นปกครอง]]
 
== แนวคิด ==
แม้ว่าวัฒนธรรมระดับสูงจะมีประวัติมายาวนานแล้วในแผ่นดินใหญ่[[ยุโรป]]ก็ตาม แต่คำนี้มีการใช้เป็นครั้งแรกในการตีพิมพ์หนังสือชื่อ "วัฒนธรรมและอนาธิปไตย" (Culture and Anarchy) ของ''แมททิว อาร์โนลด์'' แม้เขาจะหมายถึงคำ "วัฒนธรรมสูง" นี้ว่าเป็นเพียง "[[วัฒนธรรม]]" ทั่วๆ ไป แต่อาร์โนลด์ก็ได้นิยามว่าวัฒนธรรมหมายถึง "การไม่เกี่ยวไม่ข้องของมนุษย์ในความดีเลิศหลังความมานะบากบั่น" และข้อเขียนในบทนำที่มีชื่อเสียงมากที่กล่าวว่าวัฒนธรรมหมายถึง '''"การรู้อย่างดีที่สุดในสิ่งมีการพูดและการคิดในโลก"''' เป็นความหมายเฉพาะทางบรรณโลกที่รวมไปถึง[[ปรัชญา]]ซึ่งปัจจุบันมักไม่ถือกันว่าเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมระดับสูงอย่างน้อยก็ในวัฒนธรรมของชนชาติที่ใช้[[ภาษาอังกฤษ]] อาร์โนลด์มองว่าวัฒนธรรมระดับสูงเป็นแรงผลักดันทาง[[ศีลธรรม]]และความดีงามทางการเมือง และในหลายๆ รูปที่มุมมองนี้ยังคงแพร่กระจายอยู่ แม้จะยังห่างไกลจากการเป็นเรื่องที่น่ายกขึ้นมาถกเถียงก็ตาม คำ "วัฒนธรรมระดับสูง" มีความเปรียบต่างกับ "วัฒนธรรมประชานิยม" (Popular culture) หรือ "วัฒนธรรมมวลชน" (Mass culture)และรวมทั้งกับวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ แต่ก็ไม่ได้เป็นปรปักษ์ต่อวัฒนธรรมเหล่านี้แต่ประการใด
 
หนังสือชื่อ "หมายเหตุว่าด้วยนิยามของวัฒนธรรม" ([[พ.ศ. 2491]]) โดย ''ที เอส เอเลียต'' นับเป็นงานที่มีอิทธิพลที่แสดงให้เห็นว่าวัฒนธรรมระดับสูงและวัฒนธรรมประชานิยมเป็นส่วนที่จำเป็นในการส้รางความสมบูรณ์ของความเป็นวัฒนธรรม ในหนังสือชื่อ "การใช้อักษรศาสตร์" (the Uses of Literacy) ของริชาร์ด ฮอกการ์ด ([[พ.ศ. 2500]])ก็นับเป็นงานที่มีอิทธิพลไปในแนวทางนี้เช่นเดียวกัน โดยมีเนื้อหาในด้านประสบการณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มบุคคลเช่นตัวเขาเองซึ่งมาจากชนชั้นทำงานก่อนที่จะเข้าเรียนมหาวิทยาลัย ในอเมริกา ''ฮาโรลด์ บลูม'' ก็มีงานมากชิ้นที่สามารถรวมอยู่ในแนวนี้ เช่นเดียวกับ ''เอฟ อาร์ ลีวิส'' ก่อนหน้านั้น คล้ายอาร์โนลด์ที่เน้นเกี่ยวกับวรรณคดี และไม่กลัวที่จะส่งเสียงขรมไว้ในงานวรรณคดีเรื่อง "[[:en:Western Canon|Western Canon]]" ของเขา
 
== ศิลปะระดับสูง ==
วัฒนธรรมระดับสูงส่วนใหญ่ประกอบด้วยการซาบซึ้งในสิ่งที่เรียกว่า "ศิลปะระดับสูง" คำนี้มีความหมายค่อนข้างกว้างกว่านิยามของอาร์โนลด์ และนอกจาก[[วรรณคดี]]แล้ว ยังรวมถึง[[ดนตรี]] [[ทัศนศิลป์]] โดยเฉพาะ[[จิตรกรรม]] และรูปแบบอย่างเป็นประเพณีของ[[ศิลปะการแสดง]]ซึ่งปัจจุบันรวม[[ภาพยนตร์]]ด้วย โดยทั่วไปไม่นับ[[มัณฑนศิลป์]]เป็นศิลปะระดับสูง
 
[[ไฟล์:Acropolis of Athens 01361.JPG|thumb|right|250px|วิหารพาเธนอน]]
* [[อียิปต์โบราณ]]
* [[กรีกโบราณ]]
* [[โรมโบราณ]]
* [[จีน]]
* [[อินเดีย]]
* [[ไบแซนติอุม]]
* [[เปอร์เซีย]]
* วัฒนธรรมอื่นๆ ของ [[ตะวันออกกลาง]] ในยุคต่างๆ
* [[ญี่ปุ่น]] ตั้งแต่ [[ยุคนารา|นารา]] หรือ [[ยุคเหียน]] เป็นต้นมา
* ยุโรป นับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษลง
 
 
== การส่งเสริมวัฒนธรรมรดับสูง ==
 
== นักทฤษฎี ==
 
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[Highbrow]]
* [[วัฒนธรรม]]
* [[แก่นอารยธรรม]]
* [[วัฒนธรรมมวลชน]]
* [[วัฒนธรรมชนชั้นทำงาน]]
* [[วัฒนธรรมศึกษา]]
* [[Dead white males]]
* [[การอุดมศึกษา]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.authorama.com/culture-and-anarchy-1.html Full text of Matthew Arnold's ''Culture and Anarchy'' online]
* [http://members.tripod.com/GellnerPage/SmithLec.html ''Memory and modernity:reflections on Ernest Gellner's theory of nationalism'' - Lecture text by Anthony D Smith]
* [http://faculty.frostburg.edu/phil/forum/HighArt.htm On high art]
* [http://www.newcriterion.com/archive/13/jan95/wilkin.htm ''On the "High Art" of Nicolas Poussin'' - New Criterion Magazine, 1995]
 
 
== อ้างอิง ==
* [[Bakhtin]], M. M. (1981) ''[http://books.google.com/books?id=JKZztxqdIpgC The Dialogic Imagination: Four Essays]''. Ed. Michael Holquist. Trans. Caryl Emerson and Michael Holquist. Austin and London: University of Texas Press.
 
[[หมวดหมู่:วัฒนธรรมย่อย]]
บรรทัด 59:
[[ja:ハイカルチャー]]
[[pl:Kultura elitarna]]
[[ru:ВысокаяЭлитарная культура]]
[[sv:Finkultur]]